การจัดระบบบริการ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0 – 2 ปี ใน รพ.สต.
กรอบการดำเนินงาน Community approach Clinical approach การคัดกรอง/การเฝ้าระวัง/ติดตามกำกับอย่างต่อเนื่อง การฝึกทักษะ ผปค.ที่เข้มข้น การใช้ฟลูออไรด์อย่างเหมาะสม การให้คำปรึกษา Community approach ระบบเฝ้าระวัง และข้อมูลในชุมชน แผนแก้ไขปัญหาในชุมชนแบบมีส่วนร่วม ระบบการติดตาม กำกับและประเมินผล การสร้างกระแสรณรงค์ การพัฒนาทักษะชุมชน การเยี่ยมบ้าน บริการเชิงรุก
การดำเนินงานในคลินิก
พฤติกรรมการกิน การทำความสะอาด Flow chart จำแนกความเสี่ยง-> บริการ -> monitor -> HHC 6 sound ฝึกทักษะแปรงฟัน FV กลุ่มเสี่ยง White lesion ตรวจคัดกรอง 9 white 12 จนท อสม decay 15 18 ฟันผุ /Plague พฤติกรรมการกิน การทำความสะอาด บริการที่ได้รับ 24 30 36
ทะเบียนคุมการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในคลินิกเด็กดี ลำดับ HN ชื่อ - สกุล/รายละเอียดถ้ามี 6 mo 9 mo 12 mo 15 mo 18 mo 24 mo 30 mo 36 mo ชื่อ.............................. status w ผู้เลี้ยงดูหลัก d สุขอนามัย/พฤติกรรม treatment date
รหัส status สุขอนามัย/พฤติกรรม w = w hite lesion ใส่ซี่ฟัน d = cavitated lesion ใส่ซี่ฟัน สุขอนามัย/พฤติกรรม a = แปรงฟันโดย ผปค อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน b = มีแผ่นคราบจุลินทรีย์ที่ฟันหน้า c = ดูดขวดนมหลับ d = กินอาหารว่างเครื่องดื่มที่ทำให้ฟันผุ
treatment 1 = ตรวจช่องปาก 2 = ฝึกทักษะแปรงฟัน 3 = เคลือบฟลูออไรด์ 4 = แจกแปรงสีฟัน 5 = แจกสื่อการเรียนรู้
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม การได้รับฟลูออไรด์ ฟันผุ ทำความสะอาดที่มีประสิทธิภาพ คราบจุลินทรีย์ ความสม่ำเสมอในการรับบริการ / การดูแล การติดตามกำกับ การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์
การดำเนินงานในชุมชน
1. การติดตามเฝ้าระวังโดย อสม.
แบบบันทึกสุขภาพช่องปากเด็ก 0 - 2 ปี ในชุมชน โดย อสม. แบบบันทึกสุขภาพช่องปากเด็ก 0 - 2 ปี ในชุมชน โดย อสม. ชื่อ - นามสกุล/รายละเอียด 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 18 เดือน 24 เดือน 30 เดือน 36 เดือน ฟันผุ ผู้เลี้ยงดู สุขอนามัย ที่อยู่ สุขศึกษา วันที่
รหัส สุขอนามัย ฟันผุ = สุขศึกษา 1 = ฝึกทักษะแปรงฟัน 1 = มีคราบจุลินทรีย์ 2 = แปรงฟันโดย ผปค. 3 = กินขนม และเครื่องดื่มเสี่ยงต่อฟันผุ 4 = ดูดขวดนม ฟันผุ = สุขศึกษา 1 = ฝึกทักษะแปรงฟัน 2 = แนะนำเรื่องอาหาร 3 = สอนตรวจช่องปาก
2. การจัดทำแผนแก้ไขปัญหาโดยการมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมาย 1. อสม. 2. ตัวแทนผู้ปกครองเด็ก 0 – 2 ปี 3. ตัวแทน อปท. 4. แกนนำชมรม ผสอ. 5. แกนนำอื่นๆ
ผลผลิตของแผน กองทุนตำบล งบ PP ทันตกรรม แผนพัฒนาศักยภาพผู้เลี้ยงดูเด็กในชุมชน แผนรณรงค์ประชาสัมพันธ์ แผนการสนับสนุนทรัพยากร แผนบูรณาการกับประเด็นสุขภาพอื่น กองทุนตำบล งบ PP ทันตกรรม
3.สำรวจสภาวะทันตสุขภาพ และพฤติกรรมการเลี้ยงดู ฟันผุ อนามัยช่องปาก การทำความสะอาดช่องปาก การกินอาหารเสี่ยงต่อฟันผุ ข้อมูลทั่วไป : เด็ก / ผปค. เครื่องมือ แบบสำรวจเด็ก 1.8 และ 3 ปี ของสำนักทันตฯ แบบสอบถามผู้ปกครอง
การพัฒนาเป็น R2R
Design I Complete care X X X X X X X X X X Non - complete care DC = 0 6 mo 9 mo 12 mo 18 mo 24 mo 30 mo 36 mo X X X X X X X DC = 0 White lesion yes = ? no = ? Cavitated lesion 6 mo 9 mo 12 mo 18 mo 24 mo 30 mo 36 mo DC = 0 X X X Non - complete care
Design II Baseline Data ปี 2557 พื้นที่ทดลอง dmft 3 ปี Prev. 3 ปี 18 เดือน 3 ปี dmft & Prev. of DC พื้นที่ควบคุม dmft 3 ปี Prev. 3 ปี 18 เดือน 3 ปี นิยาม เด็ก 3 ปี เกิด และ/หรืออยู่ใน พื้นที่มากกว่า 2 ปี เคยได้รับบริการใน WCC นิยาม เด็ก 3 ปี เกิด และ/หรืออยู่ในพื้นที่มากกว่า 2 ปี