ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การสร้างแผนงาน/โครงการ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
 จัดสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งในและนอกบ้าน  ไม่กินอาหารสุกๆดิบๆ และอาหารที่มันมาก  บริโภคผักปลอดสารพิษ ที่ปลูกเอง  ล้างมือก่อน-หลังกินอาหาร/ก่อน-หลังเข้า.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2556 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

บริหารจัดการดี ภาคีมีส่วนร่วม ปรับพฤติกรรมสุขภาพลดโรค บริหารจัดการดี ภาคีมีส่วนร่วม ปรับพฤติกรรมสุขภาพลดโรค ใช้ ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ในกระบวนการพัฒนา และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัด * อบรมวิทยากรพี่เลี้ยง 990 คน * อบรมพี่เลี้ยงนักปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เกิดความตระหนักด้านสุขภาพของตนเอง ( รู้ว่าอยู่สีอะไร ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อำเภอ * ประสานการดำเนินงาน 878 อำเภอ ลดเสี่ยง ลดโรค เกิดพฤติกรรมสร้างสุขภาพ สำนักสนับสนุนบริการสุขภาพเขต 12 เขต ตำบล * ตำบลจัดการสุขภาพ 2,634 ตำบล * อสม.นักจัดการสุขภาพ 50,000 คน * อสม.นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ หมู่บ้าน * พัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพ ร้อยละ 70 ของหมู่บ้านทั่วประเทศ * หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ * สนับสนุนชุดอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน ของ อสม. ทุกหมู่บ้าน 74,963 หมู่บ้าน บุคคล * อบรม อสม. เชี่ยวชาญ 200,000 คน * ความรอบรู้ด้านสุขภาพ * ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ

( อสม.และการปรับพฤติกรรม ) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ “บริหารจัดการดี ภาคีมีส่วนร่วม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรค” ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน เป็นรูปแบบวิธีการจัดการใหม่ ( New Approach & New Management ) ที่มีการนำศักยภาพ ภูมิปัญญา และการรวมพลังของชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ มาบูรณาการให้เกิดทิศทางการทำงานที่บูรณาการและสอดคล้องกันของภาคส่วนต่างๆ ที่อยู่ในระดับตำบล ระดับตำบล (ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน) ประเมินตนเอง 5 ระดับ ระดับพื้นฐาน(การสร้างทีมสุขภาพ) ระดับพัฒนา(การวางแผนการ- พัฒนา) ระดับดี (การนำแผนสู่การปฏิบัติ) ระดับดีมาก (การพัฒนาต่อเนื่อง) ระดับดีเยี่ยม (การเป็นต้นแบบการ พัฒนาและเป็นศูนย์การเรียนรู้) ผลสำเร็จที่คาดหวัง ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมีการบริหารจัดการใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สีในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างเป็นระบบ ระดับบุคคล ( อสม.และการปรับพฤติกรรม ) จัดทำโครงการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานความดันในชุมชน จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง เป็นแกนนำในการจัดการสุขภาพชุมชนเน้นการใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ผลสำเร็จที่คาดหวัง  อสม.นักจัดการสุขภาพ และ อสม.เชี่ยวชาญ สามารถใช้ปิงปองจราจรชีวิต7 สี ในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ  มีการประเมินพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชน ระดับหมู่บ้าน (หมู่บ้านจัดการสุขภาพ) ประเมินตนเอง 6 ด้าน ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการจัดทำแผนด้านสุขภาพ  ด้านการจัดการงบประมาณ  ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนา  ด้านการประเมินผล  ด้านผลสัมฤทธิ์ ผลสำเร็จที่คาดหวัง ภาคีที่เกี่ยวข้องในหมู่บ้าน/ ชุมชน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สีในการดำเนินงาน

การดำเนินการ “ สู้เบาหวาน ความดัน” ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดย อสม. การดำเนินการ “ สู้เบาหวาน ความดัน” ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี โดย อสม. 1. อสม. สำรวจ ค้นหาและจัดทำทะเบียนประชาชนในความรับผิดชอบแยกเป็นรายกลุ่มอายุ 2. จัดกิจกรรมการคัดกรองเพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น 2.1 ประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น โดยใช้แบบสอบถามด้วยวาจา เพื่อคัดกรองและสอบถามเบื้องต้นใน 7 ประเด็น ได้แก่ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่และการใช้สารเสพติด การดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง การออกกำลังกาย การเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจราจร การใช้ยาชุด สุขภาพจิต การรับประทานอาหาร (สุกๆดิบๆ รสหวาน มัน เค็ม ) 2.2 ตรวจประเมินสุขภาพ พร้อมจดบันทึกข้อมูล โดย  การชั่งน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) วัดส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) วัดรอบเอว (หน่วยเป็นเซนติเมตร)  คำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยใช้ข้อมูลเรื่องน้ำหนัก (กิโลกรัม) หารด้วย ความสูง (เมตร) การจับชีพจร และวัดความดันโลหิต โดยก่อนวัดต้องซักถามประวัติการเป็นความดัน การเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด 3. วิเคราะห์และแปรผลข้อมูลสุขภาพในข้อ 2 โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และจำแนกเป็น 4 กลุ่ม จัดกิจกรรมป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง และร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ในการเฝ้าระวังและส่งต่อในกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน กิจกรรมในชุมชนรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดย ลด หวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ ออกกำลังกาย วันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน งดเว้นอบายมุข เหล้า บุหรี่ ทำจิตใจให้แจ่มใส ไม่เครียด ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ เฝ้าระวังโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน ลดโรค ป้องกัน ลดเสี่ยง ส่งเสริม

องค์กรสร้างสุขภาพ ( Good Health Start Here) กรม สบส. จนท. ทุกคน มีผลการตรวจสุขภาพ และมีการใช้ปิงปองจราจร 7 สีจำแนกตนเองว่า มีภาวะสุขภาพอยู่ในสีอะไร กลุ่มภารกิจนโยบายและยุทธศาสตร์ กองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน ชมรม อสม.ระดับประเทศ ชมรม อสม. ระดับภาค ชมรม อสม. ระดับจังหวัด กองแผนงาน กองสุขภาพระหว่างประเทศ กลุ่มภารกิจควบคุมคุณภาพมาตรฐาน กองวิศวกรรมการแพทย์ สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองแบบแผน กองสุขศึกษา กลุ่มภารกิจบริหาร สำนักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ 12 เขต เกิดความตระหนักด้านสุขภาพของตนเอง ( รู้ว่าอยู่สีอะไร ) เกิดพฤติกรรมสร้างสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข สวัสดี