พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างศูนย์วิชาการเขต กรมควบคุมโรคมี SRRT การจัดทีมระดับเขต นโยบาย – การติดตามสถานการณ์ – สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในคน – จัดทีม.
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
กิจกรรมรณรงค์เฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันไข้เลือดออก เนื่องในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๖ “รวมพลังเร่งรัดกำจัดลูกน้ำ”
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
งานนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
รอบที่ 1 ประจำปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี ระหว่าง วันที่ มีนาคม 2556.
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
แผนเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ ปัจจุบันยังไม่ส่งผลต่อประเทศไทย

เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์สาธารณสุข เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาผู้ประสบภัย (นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข) ๑ จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์สาธารณสุข เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานเฉพาะกิจ ๒ มีฝ่ายแผนงานและข่าวกรองในการติดตามข้อมูลสถานการณ์การเกิดภัย ๓ เตรียมความพร้อมด้านการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข

เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์สาธารณสุข เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาผู้ประสบภัย (นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข) ๔ ให้สุขศึกษากับประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย ในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดอุทกภัยเพื่อป้องกันโรคติดต่อ ๕ สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งในจังหวัดจัดเตรียมแผนประคองกิจการ ๖ การฟื้นฟูสภาพภายหลังน้ำลด

เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์สาธารณสุข เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาผู้ประสบอุทกภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี 8 ตค 55 1 war room ทุกวันจันทร์ ทาง Video conference เวลา 10.00 น. เริ่ม 8 ตค.55 เป็นต้นไป รพ./สสอ. รายงานสรุปสถานการณ์ในพื้นที่ 2 รพ./สสอ. แจ้งชื่อ-สกุล เบอร์โทรศัพท์ ผู้รับผิดชอบ หลักและสำรอง การรายงานอุทกภัยให้ สสจ.ทราบ 3 สสจ.เปิดกล่องเอกสารใน web site สสจ.พบ. “ศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีอุทกภัยฯ” มีเอกสารรายงานให้ศึกษาหรือ down load

เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์สาธารณสุข เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาผู้ประสบอุทกภัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี 8 ตค 55 4 เตรียมความพร้อมหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ลงพื้นที่ได้ทันที ทีมประกอบไปด้วย 4.1 รถยกสูง 1 คัน (ต่อท่อไอเสียป้องกันน้ำ) 4.2 เรือท้องแบน 4.3 บุคลากร (แพทย์ 1 พยาบาล 2 จนท.อื่นๆ 3 ฯ) 4.4 ยาและเวชภัณฑ์ออกหน่วย 4.5 สำรองยาชุดช่วยเหลือผู้ประสบภัย CUP ละ 1,000 ชุด 5 SRRT เฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค พื้นที่ประสบภัย 6 การรายงานสถานการณ์อุทกภัยให้ สสจ.ทราบ ได้ที่ กลุ่มงานควบคุมโรค อนุชา ปิ่นเพชร 0 3242 5100 ต่อ 121 มือถือ 08 6575 6969(ตลอด 24 ชั่วโมง)

หน่วยงาน การเตรียมความพร้อม อำเภอรายงานการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย ทาง Vedio conference 8 ตค. 55 หน่วยงาน การเตรียมความพร้อม รพ.ชะอำ ยาช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย จำนวน 1,000 ชุด รพ.แก่งกระจาน รถกระบะยกสูง จำนวน 1 คัน สสอ.บ้านลาด การประสาน อปท.ในพื้นที่ สนับสนุนเรือเพื่อให้ จนท.สธ.ออกให้บริการในพื้นที่ประสบภัย