แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพิจารณาคำขอรับค่าตอบแทนและอนุมัติให้ได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบ ก. พ
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 ทำกิจกรรมตามภารกิจของแต่ ละองค์กร.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
พ.ร.บ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.๒๕๔๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การบริหารราชการแผ่นดิน
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
ผังแนวคิดการทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เทศบาลตำบลเชียงคำ คณะกรร มการ กองทุนฯ กระบวนการ ทำงานหลักการ มีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน หลักชัย ชาวเทศบาลตำบล.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
แผนพัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล

วัตถุประสงค์ เพื่อให้การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บรรลุตามนโยบายนพ.สสจ./กระทรวงสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ภาคประชาชน / ชุมชน / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / ราชการส่วนภูมิภาค และองค์กรเอกชน ได้มีส่วนร่วมในการปฏิรูปการบริหารจัดการ สนับสนุนการดำเนินงาน ตลอดจนการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดความรู้สึกความเป็นเจ้าของในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อร่วมพิจารณาแก้ไขปัญหาการดำเนินงานในพื้นที่

คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย 1.รองนายแพทย์ สสจ. 2.นายอำเภอ 3.ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ที่ปรึกษา 4.สาธารณสุขอำเภอ

คณะกรรมการพัฒนารพ.สต. 1. เจ้าอาวาส/ผู้นำศาสนา /โต๊ะอิหม่าม ประธาน 2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล /กำนันตำบล รองประธาน 3.ปลัดอบต./ ผูทรงคุณวุฒิ /ข้าราชการเกษียณ / ชมรมผู้สูงอายุ / ผู้นำชุมชน / ประธาน อสม. กรรมการ / ผอ.รร. 4.ผอ.รพ.สต. เลขานุการ 5.นวก.สธ./ พยาบาลวิชาชีพ/จพ.สธ. ผู้ช่วยเลขาฯ

แผนผังคณะกรรมการที่ปรึกษา นายอำเภอ ที่ปรึกษา ผู้อำนวยการ ร.พ ที่ปรึกษา สาธารณสุขอำเภอ ที่ปรึกษา รองนายแพทย์ สสจ. ที่ปรึกษา แผนผังคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. เจ้าอาวาส/ผู้นำสาสนา/โต๊ะอิหม่าม ประธาน รองประธาน นายกอบต. กำนันตำบล กรรมการ ผอ.รร. ปลัด อบต. ผู้ทรงคุณวุฒิ ข้าราชการเกษียณ ปธ. ชมผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน ปธ. อสม. ผอ.รพ.สต. เลขานุการ นวก./พ.ชีพ/จพ.สธ. ผู้ช่วยเลขานุการ

บทบาทหน้าที่ 1.วางแผน พัฒนา และสนับสนุนการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทั้งในด้านโครงสร้าง งบประมาณ ทรัพยากรสาธารณสุข การพัฒนาระบบบริการให้ได้คุณภาพมาตรฐาน 2.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาระบบบริการทางสุขภาพแก่ประชาชน 3.ให้คำปรึกษาในการพัฒนากับเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือคณะทำงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อเสนอแนะ หรือช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหา หรือขัดข้องให้ลุล่วงไปด้วยดี 4.สนับสนุน เร่งรัด และติดตามประเมินผลการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอย่างสม่ำเสมอร่วมกับ จนท.สธ.

บทบาทหน้าที่(ต่อ) 5.ช่วยเหลือและทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 6.ประสานและแสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ครอบคลุม และบังเกิดประโยชน์แก่ประชาชนมากที่สุด 7.แก้ไขปัญหา หาข้อยุติ ข้อร้องเรียนต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และก่อให้เกิดความสามัคคีในหน่วยบริการ

จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ