จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
HPP Thailand I ถอดบทเรียนประสบการณ์ การจ่ายค่าตอบแทนตามปริมาณงาน โรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงรายและ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา โดย คณะวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายค่าตอบแทน.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
(Sensitivity Analysis)
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การประเมินผลการเรียน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
นโยบายจ่ายค่าตอบแทนพิเศษระบบใหม่ Pay for Performance ( P4 P )
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
สรุปผลการสำรวจแบบสอบถาม ความพึงพอใจต่อกระบวนการติดตามและ ประเมินผลของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับ สป. ทส. ลงสู่ ระดับสำนัก / ศูนย์ / กลุ่ม (IPA)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน แนวทางการดำเนินงาน จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน โดย นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 3

1. ปัญหา 1. มีวิธีการจ่ายเงินค่าตอบแทนหลายรูปแบบ 2. การจ่ายค่าตอบแทนไม่สอดคล้องกับภาระงาน 3. ไม่มีประสิทธิภาพ 4. ไม่สร้างแรงจูงใจ 5. ไม่ได้สร้างความเป็นธรรมให้กับบุคลากร

2. วัตถุประสงค์ของการจ่าย P4 P เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการทำงาน เพิ่มคุณภาพของการให้บริการ สร้างความเป็นธรรมให้กับบุคลากรอันจะเป็นผลให้เกิดแรงจูงใจอยู่ในระบบ

3. ความเป็นมา 3. รพ.เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา 4. รพ.ตระการพืชผล Model รพ.พาน Model รพ.สูงเนิน 2546 2548 2552 1. รพ.มะการักษ์ (200 เตียง) 2. รพ.แก่งคอย 3. รพ.เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา 4. รพ.ตระการพืชผล 5. รพ.เดชอุดม 6. รพ.วารินชำราบ 7. รพ.ม่วงสามสิบ 8. รพ.สระบุรี 9. รพ.โนนแดง 10. รพ.วชิระภูเก็ต

4. ข้อตกลงเบื้องต้น 4.1 จ่ายค่าตอบแทนครอบคลุมทุกวิชาชีพ 4.2 ครอบคลุมกิจกรรม 3 ด้าน คือ ด้านบริการ, วิชาการ และด้านบริหาร 4.3 โรงพยาบาลมีฐานะการเงินที่ดีพอสมควร 4.4 ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นที่จะทำ

5. ขั้นตอนการดำเนินงาน 5.1 การสร้างทีมนำ (Core Team) มีหน้าที่ ดังนี้ จากการศึกษาเบื้องต้น มีความเห็นว่าขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการควรมี ดังนี้ 5.1 การสร้างทีมนำ (Core Team) มีหน้าที่ ดังนี้ (1) กำหนดกติกาหลักเกณฑ์ ในการจ่ายค่าตอบแทน (2) สร้างกระบวนการเรียนรู้ในทุกกลุ่มงาน (3) ตัดสินใจในการแก้ปัญหาต่าง ๆ

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.2 การกำหนดภาระงานขั้นต่ำของผู้ปฏิบัติงาน ตามระบบ Work Point System การคิดภาระงานขั้นต่ำของแต่ละวิชาชีพ ใช้เกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนนอกเวลาราชการ ซึ่งจะแบ่งกลุ่มวิชาชีพ ได้ 6 กลุ่ม ดังนี้ (1) แพทย์และทันตแพทย์ 90 คะแนน/วัน (2) เภสัชกร 60 คะแนน/วัน (3) พยาบาลวิชาชีพ 50 คะแนน/วัน (4) เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน 40 คะแนน/วัน (5) สายงาน ปวช.,การเงิน,การบริหาร 30 คะแนน/วัน (6) ลูกจ้าง 25 คะแนน/วัน

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.3 การกำหนดค่างาน ตาม Work Point การกำหนดค่าของงานนั้นจำเป็นต้องอาศัยการพูดคุยกัน (Dialogue) บนพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลาในการทำกิจกรรม (2) ความยาวและความเป็นวิชาชีพของกิจกรรมนั้น (3) ความเสี่ยง (4) การให้คะแนนตามราคากลางที่กำหนดโดย ส่วนกลาง หรือสภาวิชาชีพ

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.4 กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดการยอมรับ(Negotiation Process ) เป็นกระบวนการที่สำคัญที่จะทำให้เกิด 4.1 การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 4.2 การแก้ปัญหาทุกชนิด 4.3 เกิดการยอมรับและการมีส่วนร่วม

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.5 กระบวนการบันทึกข้อมูล ผลการปฏิบัติงาน มักจะมีคำถาม 2 ข้อ คือ (1) ทำอย่างไรไม่ให้การบันทึกข้อมูลเป็นการเพิ่ม ภาระให้กับเจ้าหน้าที่ (2) ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ข้อเสนอ คือ พัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล เปิดเผยข้อมูลให้สามารถตรวจสอบได้

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.6 การกำหนดวงเงินจัดสรรในแต่ละเดือน ควรไม่น้อยเกินไปหรือมากเกินไป ค่าเฉลี่ยน่าจะอยู่ที่ 1,000 – 3,000 บาท/คน แบ่งเงินที่จะจัดสรรเป็น 4 ส่วน คือ (1) สำหรับผู้บริหาร (2) Work Point ของผู้ปฏิบัติงาน (3) Quality point (4) Capital cost

ขั้นตอนการดำเนินงาน (ต่อ) 5.7 การทดลองจ่ายบนกระดาษ ก่อนที่จะจ่ายจริงควรมีการทดลองจ่ายบนกระดาษก่อนเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้ ศึกษาดูว่า เหมาะสม ใกล้เคียงความเป็นจริงหรือไม่ 5.8 Auditing System ความผิดพลาดอาจเกิดจากความตั้งใจ หรือไม่ตั้งใจก็ได้ หากเป็นความผิดพลาดที่เกิดจากความตั้งใจ ต้องมีการลงโทษ 5.9 การประเมินผลการดำเนินงาน ดังได้กล่าวแต่ต้นว่า การเพิ่มเงิน P4P ต้องส่งผลให้เกิด ประสิทธิภาพ คุณภาพ ขวัญและกำลังใจ ของผู้ปฏิบัติงาน จึงต้องประเมิน 3 ประเด็น ดังกล่าว

ผลที่ได้รับเบื้องต้น 1. เจ้าหน้าที่ มีความกระตือรือร้นมากขึ้น 2. เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจ 3. เกิดบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับเงินเดือน 5. ผู้บริการจะมีความพึงพอใจมากขึ้น

สวัสดี