โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สาขาโรคมะเร็ง.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด

สถานการณ์

กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลราชบุรี คน 499,303 472,359 446,810 เฉลี่ย : วัน 2,038 คน เฉลี่ย : วัน 1,928 คน เฉลี่ย : วัน 1,832 คน 100,668 69,536 เฉลี่ย : วัน 353 คน เฉลี่ย : วัน 243 คน ปี 2517 2523 2546 2547 2548

วัตถุประสงค์ ระยะสั้น 1. ลดอัตราการเพิ่มของผู้ป่วยนอก 10% 2. เพิ่มความสะดวกและคล่องตัวในการใช้บริการ ที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลราชบุรี 3. เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการที่ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลราชบุรี 4. เพิ่มความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 5. เพื่อดำเนินงานตามนโยบาย “ใกล้บ้าน ใกล้ใจ” ระยะสั้น

วัตถุประสงค์ ระยะยาว 1. แผนกผู้ป่วยนอกให้บริการดูแลรักษาในระดับทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพในเครือข่าย

กลวิธีในการดำเนินงาน 1. ปรับระบบและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการในโรงพยาบาลและเครือข่ายบริการ ดำเนินการแล้ว * กระจายห้องตรวจในอาคารอื่น Ortho, จิตเวช ลดจำนวนผู้ป่วยที่ตึก OPD ~ 200 คน/วัน * นัดหมายผู้ป่วยเหลื่อมเวลา * ปรับเปลี่ยนเวลาของคลินิกเฉพาะโรค เป็นช่วงบ่าย (ต่อมลูกหมาก) * ส่งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกให้ผู้ป่วยทางไปรษณีย์ ลดจำนวนผู้ป่วยที่ต้องฟังผล ~ 60% * เปิดคลินิกนอกเวลาราชการทุกวัน ผู้ใช้บริการ ~ 70-90 คน/วัน * นัด Elective case นอกเวลา เช่น Mammogram

กลวิธีในการดำเนินงาน 1. ปรับระบบและเพิ่มประสิทธิภาพการบริการในโรงพยาบาลและเครือข่ายบริการ กำลังจะ ดำเนินการ * นัดผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น DM, HT รับยาที่สถานบริการใกล้บ้าน โดยมีแพทย์เฉพาะทางออกไปให้บริการ * แพทย์แผนไทย เปิดให้บริการวันเสาร์ * คลินิกพิเศษเฉพาะทางนอกเวลาราชการ เช่น อายุรกรรม, สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม

กลวิธีในการดำเนินงาน 2. เสริมสร้างความรู้และทักษะของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัวได้ เหมาะสม 3. สร้างความเข้าใจกับประชาชนในการใช้บริการสุขภาพที่เหมาะสม 4. เสริมทางเลือกบริการสุขภาพในชุมชนด้วยรูปแบบต่าง ๆ เช่น แพทย์แผนไทย การนวด การใช้สมุนไพร ฯลฯ 5. ดำเนินงาน Healthy Thailand ในศูนย์สุขภาพชุมชน 6. เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก 4 มุมเมืองในสถานที่ผู้ใช้บริการคมนาคมได้สะดวก โดยไม่ต้องมาใช้บริการในโรงพยาบาล โดยในช่วงแรกจะเปิดให้บริการ 1 สาขา เพื่อรองรับผู้ใช้บริการในเขตจังหวัดราชบุรี และพื้นที่ใกล้เคียงประสานงานร่วมกับ เครือข่ายท้องถิ่น เช่น เทศบาล เพื่อดำเนินการให้การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ รับผิดชอบ

งบประมาณที่ใช้ดำเนินการ 1. ค่าปรับปรุงสถานที่ 740,000 บาท 2. เครื่องปรับอากาศ 160,000 บาท 3. ครุภัณฑ์การแพทย์ 2,000,000 บาท 4. อุปกรณ์สำนักงาน 600,000 บาท 5. อุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย 500,000 บาท รวม 4,000,000 บาท

แผนงานและระยะเวลาในการดำเนินงาน Modernized Hospital ลำดับ กิจกรรม มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. 1. จัดทำโครงการพัฒนาโรงพยาบาล”บริการฉับไว ไร้ความแออัด 2. แต่งตั้งคณะกรรมการฯ 3. ประชุมคณะกรรมการฯ 4. วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ 5. สำรวจสถานที่ที่เหมาะสม 6. จัดทำแผนการดำเนินงาน 7. จัดทำงบประมาณด้านครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 8. นำเสนอโครงการต่อกรรมการโรงพยาบาลเพื่อพิจารณาอนุมัติและดำเนินการ 9. จัดเตรียมบุคลากร/ระบบบริการ 10. ปรับปรุงสถานที่ 11. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้บริการรับทราบ 12. เปิดให้บริการ 13. วิเคราะห์/ประเมินการดำเนินงาน ทุก 6 เดือน แผนงานและระยะเวลาในการดำเนินงาน Modernized Hospital

แนวทางการติดตามประเมิน ประเมิน/วิเคราะห์ผลการดำเนินงานทุก 6 เดือน จำนวนผู้ป่วยที่มาใช้บริการที่โรงพยาบาลสาขา จำนวนผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลราชบุรี ลดลง 10% ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลราชบุรีมากกว่า 80% ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการผู้ป่วยที่โรงพยาบาลสาขามากกว่า 80% ระยะเวลาใช้บริการในโรงพยาบาลสาขาไม่เกิน 1 ชั่วโมง ระยะเวลาที่แพทย์ใช้ตรวจผู้ป่วยแต่ละรายที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลราชบุรี ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน (5 นาที/คน) ตัวชี้วัด

ผลที่คาดว่าจะได้รับการดำเนินโครงการ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก และเหมาะสมกับความจำเป็นทางด้านสุขภาพ โรงพยาบาลราชบุรี สามารถพัฒนาศักยภาพของ รพ.ระดับทุติยภูมิและตติยภูมิได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชน, สถานีอนามัย, ศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาล เพื่อเป็นเครือข่ายบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ

สวัสดี