แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การทดสอบและออกหนังสือรับรองบุคลากร ส่งเสริมงานความปลอดภัย ในการทำงานเฉพาะด้าน ประกาศ 8 พฤษภาคม 2557.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่อสร้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2552 สุธารัตน์ วิทย์ชัยวุฒิวงศ์

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1 ชี้แจงแผนการดำเนินงานในปี 2552 แก่ สสจ.ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ธ.ค. 51 - ช.ย. 15 ธ.ค. 51 - ส.ร. 17 ธ.ค. 51 - บ.ร. 17 ธ.ค. 51 - น.ม. 19 ธ.ค. 51 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข 28-29 ม.ค. 52 (2 วัน) สสจ./รพศ.รพท./สสอ./รพช./สอ. 3 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานให้บริการด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข ก.พ. 52 – มิ.ย. 52 - สนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่ เอกสารความรู้/วิทยากร - ติดตามผลการดำเนินงาน 4 การประเมินผลการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข มิ.ย. 52 – ส.ค. 52 - ตามแนวทางการดำเนินการแต่ละระดับ

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ และระบบการจัดเก็บข้อมูล ประชุมชี้แจงหน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัยในจังหวัดให้ทราบถึงกรอบแนวคิดและการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับในหน่วยบริการสาธารณสุขโดยการจัดเวทีการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน สนับสนุนการดำเนินงาน นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปรายงานผลการดำเนินงาน และจัดทำสถานการณ์สภาวะสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบของจังหวัด/อำเภอ

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย ประชุมชี้แจง อบต./อสม./อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชนในเรื่องการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมอสม. /อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน โดยการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน ดำเนินการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในชุมชนโดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.01) ในชุมชน  ในหน่วยบริการสาธารณสุข รวบรวม ข้อมูลจากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) บันทึกจัดเก็บตามระบบ และสรุปลงในรายงานสถานการณ์ความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.02)

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย (ต่อ) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) แบบสำรวจสิ่งคุกคามสุขภาพ และข้อมูลการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานของหน่วยบริการสาธารณสุข จัดทำเป็นสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด จัดเวทีคืนข้อมูลการประเมินความเสี่ยงฯและสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ ให้ชุมชน กลุ่มผู้ประกอบอาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อให้เกิดการดำเนินงานจัดการปัญหาต่อไป

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน , อาสาสมัครอาชีวอนามัยในชุมชน, แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน ได้รับการอบรมเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ ร่วมดำเนินการประเมินความเสี่ยงฯให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ โดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยง ฯ (นบ.01) รวบรวมแบบประเมินความเสี่ยง ฯ ให้หน่วยบริการสาธารณสุขที่สังกัด เฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ/ในกลุ่มอาชีพที่ประกอบอาชีพอยู่

แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หัวข้อวิชา/ขอบเขตเนื้อหา/ตารางการอบรม (ระยะเวลาอบรม 1 วัน) การอบรมให้ความรู้เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. /อสอช./แกนนำในอาชีพ เพื่อดำเนินการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ ควรประกอบด้วยหัวข้อวิชา 1) โรคจากการประกอบอาชีพที่พบบ่อยในพื้นที่ 2) การประเมินความเสี่ยงในการทำงาน 3) การ ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของแรงงานนอกระบบ 4) การเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

สรุปการดำเนินงาน ข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่รับผิดชอบ เป้าหมายประเมินความเสี่ยงอย่างน้อย 20%ของแรงงานนอกระบบ ดำเนินการประเมินความเสี่ยงตามแบบ นบ.01 สรุปข้อมูลจาก นบ.01 ลงแบบ นบ.02 จัดส่ง นบ.02 ให้สสจ. สสจ. สรุป นบ.02 ส่งให้สคร. จัดทำสถานการณ์ของแต่ละระดับ

สรุประบบรายงาน สคร. (ระดับเขต) สำนัก ฯ (ระดับประเทศ) นบ.02 จัดส่งรายงานถึง สคร. ภายในเดือน มิถุนายน 2552 สสจ. (ระดับจังหวัด) นบ.02 สสอ. (ระดับอำเภอ) นบ.02 รพ./สอ. (ระดับตำบล) เป้าหมาย 20% ของแรงงานนอกระบบ นบ.01 ชุมชน (อสม.)

การจัดทำสถานการณ์แรงงานนอกระบบ ข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัย -โครงสร้างของประชากรวัยแรงงาน -กลุ่มอาชีพหลัก อาชีพรอง การรวมตัวของกลุ่มอาชีพ รายได้ของประชากรในชุมชน -ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ทำงานในชุมชน ข้อมูลจำนวนโรคและภัยจากการทำงาน และ ข้อมูลจากการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ข้อมูลสภาวะสุขภาพของวัยแรงงาน การจัดการปัญหา แนวทางการควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน การลดพฤติกรรมเสี่ยง

อัตราการได้รับการตรวจประเมินความเสี่ยง สูตรคำนวณ : จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน X 100 จำนวนแรงงานนอกระบบทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการสาธารณสุข อัตราความเสี่ยงต่อสุขภาพระดับสูง สูตรคำนวณ: จำนวนแรงงานนอกระบบที่มีระดับความเสี่ยงสูง ( ผลรวมของคะแนนความเสี่ยง10 – 12 คะแนน)X100 จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน

นิยาม : แรงงานนอกระบบ ผู้ทำงานที่มีอายุระหว่าง 15-60 ปี ไม่ได้รับสิทธิคุ้มครองสุขภาพตามกฎหมายแรงงาน สวัสดิการข้าราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ แต่ยังคงได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลจากหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เช่น ผู้ทำการผลิตที่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การจ้างงานนอกระบบ การจ้างงานตนเอง การรับเหมาช่วง เป็นต้น ภาคเกษตรกรรม ภาคการผลิต ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน ทอผ้า เฟอร์นิจอร์ ภาคบริการ ได้แก่ รับจ้าง เสริมสวย ก่อสร้าง เก็บขยะ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มแรงงานนอกระบบ

กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา Tel : 044-241273 Fax : 044-259250 E-mail : envocc_dpc5@yahoo.com