แผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2552 สุธารัตน์ วิทย์ชัยวุฒิวงศ์
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1 ชี้แจงแผนการดำเนินงานในปี 2552 แก่ สสจ.ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ธ.ค. 51 - ช.ย. 15 ธ.ค. 51 - ส.ร. 17 ธ.ค. 51 - บ.ร. 17 ธ.ค. 51 - น.ม. 19 ธ.ค. 51 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข 28-29 ม.ค. 52 (2 วัน) สสจ./รพศ.รพท./สสอ./รพช./สอ. 3 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานให้บริการด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข ก.พ. 52 – มิ.ย. 52 - สนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่ เอกสารความรู้/วิทยากร - ติดตามผลการดำเนินงาน 4 การประเมินผลการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข มิ.ย. 52 – ส.ค. 52 - ตามแนวทางการดำเนินการแต่ละระดับ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ และระบบการจัดเก็บข้อมูล ประชุมชี้แจงหน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัยในจังหวัดให้ทราบถึงกรอบแนวคิดและการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับในหน่วยบริการสาธารณสุขโดยการจัดเวทีการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน สนับสนุนการดำเนินงาน นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปรายงานผลการดำเนินงาน และจัดทำสถานการณ์สภาวะสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบของจังหวัด/อำเภอ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย ประชุมชี้แจง อบต./อสม./อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชนในเรื่องการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมอสม. /อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน โดยการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน ดำเนินการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในชุมชนโดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.01) ในชุมชน ในหน่วยบริการสาธารณสุข รวบรวม ข้อมูลจากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) บันทึกจัดเก็บตามระบบ และสรุปลงในรายงานสถานการณ์ความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.02)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย (ต่อ) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) แบบสำรวจสิ่งคุกคามสุขภาพ และข้อมูลการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานของหน่วยบริการสาธารณสุข จัดทำเป็นสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด จัดเวทีคืนข้อมูลการประเมินความเสี่ยงฯและสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ ให้ชุมชน กลุ่มผู้ประกอบอาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อให้เกิดการดำเนินงานจัดการปัญหาต่อไป
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน , อาสาสมัครอาชีวอนามัยในชุมชน, แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน ได้รับการอบรมเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ ร่วมดำเนินการประเมินความเสี่ยงฯให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ โดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยง ฯ (นบ.01) รวบรวมแบบประเมินความเสี่ยง ฯ ให้หน่วยบริการสาธารณสุขที่สังกัด เฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ/ในกลุ่มอาชีพที่ประกอบอาชีพอยู่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ หัวข้อวิชา/ขอบเขตเนื้อหา/ตารางการอบรม (ระยะเวลาอบรม 1 วัน) การอบรมให้ความรู้เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. /อสอช./แกนนำในอาชีพ เพื่อดำเนินการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ ควรประกอบด้วยหัวข้อวิชา 1) โรคจากการประกอบอาชีพที่พบบ่อยในพื้นที่ 2) การประเมินความเสี่ยงในการทำงาน 3) การ ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของแรงงานนอกระบบ 4) การเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
สรุปการดำเนินงาน ข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่รับผิดชอบ เป้าหมายประเมินความเสี่ยงอย่างน้อย 20%ของแรงงานนอกระบบ ดำเนินการประเมินความเสี่ยงตามแบบ นบ.01 สรุปข้อมูลจาก นบ.01 ลงแบบ นบ.02 จัดส่ง นบ.02 ให้สสจ. สสจ. สรุป นบ.02 ส่งให้สคร. จัดทำสถานการณ์ของแต่ละระดับ
สรุประบบรายงาน สคร. (ระดับเขต) สำนัก ฯ (ระดับประเทศ) นบ.02 จัดส่งรายงานถึง สคร. ภายในเดือน มิถุนายน 2552 สสจ. (ระดับจังหวัด) นบ.02 สสอ. (ระดับอำเภอ) นบ.02 รพ./สอ. (ระดับตำบล) เป้าหมาย 20% ของแรงงานนอกระบบ นบ.01 ชุมชน (อสม.)
การจัดทำสถานการณ์แรงงานนอกระบบ ข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัย -โครงสร้างของประชากรวัยแรงงาน -กลุ่มอาชีพหลัก อาชีพรอง การรวมตัวของกลุ่มอาชีพ รายได้ของประชากรในชุมชน -ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ทำงานในชุมชน ข้อมูลจำนวนโรคและภัยจากการทำงาน และ ข้อมูลจากการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ข้อมูลสภาวะสุขภาพของวัยแรงงาน การจัดการปัญหา แนวทางการควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน การลดพฤติกรรมเสี่ยง
อัตราการได้รับการตรวจประเมินความเสี่ยง สูตรคำนวณ : จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน X 100 จำนวนแรงงานนอกระบบทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการสาธารณสุข อัตราความเสี่ยงต่อสุขภาพระดับสูง สูตรคำนวณ: จำนวนแรงงานนอกระบบที่มีระดับความเสี่ยงสูง ( ผลรวมของคะแนนความเสี่ยง10 – 12 คะแนน)X100 จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน
นิยาม : แรงงานนอกระบบ ผู้ทำงานที่มีอายุระหว่าง 15-60 ปี ไม่ได้รับสิทธิคุ้มครองสุขภาพตามกฎหมายแรงงาน สวัสดิการข้าราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ แต่ยังคงได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลจากหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เช่น ผู้ทำการผลิตที่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การจ้างงานนอกระบบ การจ้างงานตนเอง การรับเหมาช่วง เป็นต้น ภาคเกษตรกรรม ภาคการผลิต ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน ทอผ้า เฟอร์นิจอร์ ภาคบริการ ได้แก่ รับจ้าง เสริมสวย ก่อสร้าง เก็บขยะ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา Tel : 044-241273 Fax : 044-259250 E-mail : envocc_dpc5@yahoo.com