การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
Advertisements

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การประยุกต์ใช้ GIS ของกทม.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ไข้เลือดออก.
Geographic Information System
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย และเพชรบูรณ์
สถานการณ์โรค ไข้เลือดออก
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก กลุ่มงานควบคุมโรค 30 กรกฎาคม 2553.
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
การเร่งรัดควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี พ.ศ.2557
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
พื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ วัดเกต ช้างคลาน หายยา ป่าตัน ช้างม่อย ศรีภูมิ พระสิงห์ สุเทพ ฟ้า ฮ่าม ท่าศาลา ป่าแดด แม่เหียะ หนองป่าครั่ง สัน ผีเสื้อ ช้างเผือก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เขต 17 โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ SPATIAL ANALYSIS OF DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER RISK HOUSE INDEX IN REGIONS 17 USING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM นายทวีศักดิ์ ทองบู่ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553 อัตราป่วยไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553

อัตราตายไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553 อัตราตายไข้เลือดออกรายจังหวัด พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 พ.ศ. 2545 – 2553

จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกรายเดือน เปรียบเทียบ Median 5 ปี พื้นที่สาธารณสุขเขต 17 (ม.ค.2550 – พ.ค.2554)

ความเป็นมาของปัญหา GIS เพื่อสนับสนุนการบริหารและตัดสินใจ

ความเป็นมาของปัญหา 􀃠เปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศให้มองเห็นเป็นภาพแผนที่ได้ 􀃠การจำแนกปัญหาด้วยมุมมองใหม่ๆ 􀃠การทดลองสร้างแบบจำลอง 􀃠หลีกเลี่ยงความผิดพลาดของข้อมูล 􀃠หลีกเลี่ยงการตั้งสมมุติฐานผิด ๆ

โจทย์การวิจัย การใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ในเชิงพื้นที่ และเชื่อมโยงผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรคไข้เลือดออก แต่ยังไม่แน่ชัด

จุดมุ่งหมายของงานวิจัย เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (House Index :HI)

กรอบแนวคิด พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน)โรคไข้เลือดออก ปี 2554 ดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551-2553 พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน)โรคไข้เลือดออก ปี 2554 GIS (Spatial Analysis)

Visual larva survey (WHO) การแปลผลการสำรวจ (HI) วิธีการ รง.506 นอกเขต ในเขตเทศบาล ชุมชนแออัด ชุมชนที่พักอาศัย ชุมชนพาณิชน์ คัดเลือกหมู่บ้านที่ดำเนินการสุ่มสำรวจ มีค.,พค.,กค. ดำเนินการสำรวจ Visual larva survey (WHO) การแปลผลการสำรวจ (HI) -HI > 10 เสี่ยงสูง -HI ≤ 10 เสี่ยงต่ำ วิเคราะห์ทางสถิติโดย - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) Interpolation : (IDW) - Overlay Program GIS พื้นที่เสี่ยง (หมู่บ้าน) โรคไข้เลือดออกจากค่า HI

Inverse Distance Weighted Interpolation (IDW) Interpolated point Known point 30 50 52 d1=4 d1=2 d1=6 โดย Zi เป็นค่าของจุดที่ทราบค่า dij เป็นระยะทางจากจุดที่ทราบค่า Zj เป็นจุดที่ไม่ทราบค่า n เป็นเลขยกกำลังที่ผู้ใช้เลือก (1, 2 หรือ 3) = 34

วิเคราะห์เชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) แผนที่ (point) การแปลผลการสำรวจ Interpolation : (IDW) HI 51 HI 52 HI 53 Overlay Analysis (HI) Risk area Overlay Analysis Village

ผลการศึกษา

จุดหมู่บ้านที่สำรวจและผลของค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (HI) ปี 2551 ปี 2553 ปี 2552 .≤ 10.00 > 10.00

ค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 = เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง .≤ 10.00 > 10.00

พื้นที่เสี่ยงจากค่าดัชนีความชุก (HI) ลูกน้ำยุงลาย ปี 2551-2553 ปี 2553 ปี 2552 ปี 2551 เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง

Overlay Analysis

พื้นที่เสี่ยงโรคไข้เลือดออกจากค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย (2554) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

จังหวัด พื้นที่ สคร.9 พื้นที่เสี่ยงสูงปี 2554 อำเภอ ตำบล หมู่ พิษณุโลก ตารางแสดงพื้นที่เสี่ยงไข้เลือดออกจากดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายปี 2554 จังหวัด พื้นที่ สคร.9 พื้นที่เสี่ยงสูงปี 2554 อำเภอ ตำบล หมู่ พิษณุโลก 9 91 957 83 592 (14.03) เพชรบูรณ์ 11 115 1,373 10 53 344 (8.15) ตาก 63 520 5 16 49 (1.16) อุตรดิตถ์ 64 533 - สุโขทัย 84 834 รวม 47 417 4,217 24 152 985 (23.36)

ตัวอย่างผลการวิเคราะห์รายหมู่บ้าน จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่ พิษณุโลก ชาติตระการ 3 บางระกำ ท่านางงาม   สวนเมี่ยง 10 คุยม่วง 2 บ้านดง 1 พรหมพิราม 12 ท่าสะแก 7 ท่าช้าง 5 นครไทย 13 วงฆ้อง หนองกระท้าว 27 มะตูม 4 บ้านแยง หอกลอง 6 เนินเพิ่ม 17 ศรีภิรมย์ นาบัว ตลุกกระเทียม นครชุม วังวน ยางโกลน หนองแขม 9 บ่อโพธิ์ มะต้อง 11 บ้านพร้าว ทับยายเชียง ห้วยเฮี้ย ดงประคำ

ความแม่นยำในการวิเคราะห์ หมู่บ้าน จังหวัด อำเภอ forecasting true ร้อยละความแม่นยำ พิษณุโลก เนินมะปราง 38 8 21.05 บางกระทุ่ม 10 2 20.00 วังทอง 106 16 15.09 เมืองพิษณุโลก 129 37 28.68 บางระกำ 75 10.67 พรหมพิราม 72 22.22 วัดโบสถ์ 17 11.76 ชาติตระการ 21 4 19.05 นครไทย 118 31 26.27   586 124 21.16

ข้อเสนอแนะและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ การคาดคะเนการระบาด จุดกำเนิดหรือจุดแพร่กระจายของโรค การนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้ในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและการทำนายแนวโน้ม (Trend) การเกิดโรคไข้เลือดออก ผู้บริหารสามารถตัดสินใน วางแผนการดำเนินได้ทันเวลา และใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม การพัฒนาการใช้ GIS เพื่อช่วยเหลือในการวิเคราะห์ การทำให้เห็นภาพ (Visualization) การจัดการและการพัฒนานโยบาย

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป * การติดตามความแม่นยำในการวิเคราะห์ระยะยาว * การนำปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยง เช่น > ปริมาณน้ำฝน > ความหนาแน่นของประชากร > พฤติกรรม > อุณหภูมิ > จำนวนผู้ป่วย ฯลฯ

Thank You

ความสัมพันธ์ชิงเส้น ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553

การแปลค่าดัชนีทางกีฏวิทยา Pant and Self (WHO,1993) ได้ให้แนวทางเกี่ยวกับการ แปลงค่าดัชนียุงลายและลูกน้ำยุงลาย ดังนี้ BI>50 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค BI<5 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โรค HI>10 มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการแพร่โรค HI<1 มีความเสี่ยงต่ำที่จะเกิดการแพร่โลก จิติและคณะ (2536) BI > 100 เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์ไข้เลือดออก BI < 50 เป็นพื้นที่ไม่มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก