การจับไมโครโฟน(มือซ้าย)
การจับไมค์โครโฟน(โดยมือขวา)
(แบบมือถือ) การพูดให้ไมค์ห่างจากปากประมาณ 3นิ้ว
ไมค์โครโฟนแบบตั้งโต๊ะ
ตัวอย่างการพูดวิทยุชนิดมือถือ
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม 1.ก่อนใช้งานเครื่องวิทยุคมนาคมแต่ละรุ่นควรศึกษาวิธีการใช้งานจากหนังสือคู่มือทุกครั้ง 2.อย่าวางเครื่องวิทยุคมนาคมไว้ในที่ร้อนจัดหรือใกล้แหล่งความร้อน
3.ระวังอย่าให้เครื่องวิทยุคมนาคมถูกกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง 4.ในการกดคีย์เพื่อส่งข้อความแต่ละครั้ง ไม่ควรกดคีย์นานเกิน 30-60 วินาที เพราะอาจทำความเสียหายให้กับเครื่องวิทยุคมนาคมได้
5.อย่าใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในบริเวณที่มีละอองน้ำมัน หรือก๊าซฟุ้งกระจาย 6.ไม่ควรใช้เครื่องวิทยุคมนาคมในขณะเกิดฝนฟ้าคะนองแรงๆ 7.ควรตรวจตราน็อตยึดเครื่อง หากพบว่าหลวมควรทำการขันให้แน่น
8.การชาร์จถ่านครั้งแรกควรชาร์จให้นานไม่ต่ำกว่า 8 ชั่วโมง
ตัวอย่างการแจ้งเหตุทางวิทยุ สมมุติว่ามีผู้แจ้งเหตุทางโทรศัพท์ทางสายด่วน 1669 ว่าได้พบเหตุรถกระบะ ชนกับรถเก๋ง ที่บริเวณหลักกม.ที่ 30 ทางไปอำเภอด่านช้าง ไม่ทราบผู้บาดเจ็บเพราะไม่ได้ลงไปดู ทางศูนย์กู้ชีพ จะแจ้งได้ 2 กรณี คือแจ้งลอย และการแจ้งเจาะจง
แจ้งลอย ไป,สถานที่ ข้อความข่าว,ข่าว อุบัติเหตุรถยนต์ ขอแจ้งว.8 ลอย ถึงรถกู้ชีพ ทุกคัน ว่าเกิด ว.40 ,ให้ ว.25 บริเวณหลักกม.ที่ 30 ทางไปอำเภอด่านช้าง รถ กู้ชีพคันใด อยู่ใกล้ ให้ไปว.25 ที่ ว.40, ว.24นี้ แล้วแจ้งเหตุกลับมาที่ศูนย์ด้วย เวลา,ขอทราบเวลา
ทางรถกู้ชีพที่ไปถึงที่เกิดเหตุก็ต้องเรียกกลับมาที่ศูนย์กู้ชีพเพื่อรายงานสถานการณ์ ขอทราบที่อยู่,ที่อยู่ รถกู้ชีพ 2 , ว.1 ที่ ว.40 แล้ว มีผู้บาดเจ็บ 3 ราย กำลังทำการช่วยเหลือและจะนำส่งผู้ป่วยที่รพ.ต่อไป ขอให้ ว.55 ด้วย อำนวยความสะดวก
หรือทางศูนย์กู้ชีพ แจ้งให้รถกู้ชีพคันไหนก็ได้ไปที่เกิดเหตุเลยก็ได้ หรือทางศูนย์กู้ชีพ แจ้งให้รถกู้ชีพคันไหนก็ได้ไปที่เกิดเหตุเลยก็ได้ กู้ชีพ12 ให้ ว.25 ที่ ว.40 , ว.24 นี้ ที่บริเวณหลักกม.ที่30 ทางไปอำเภอด่านช้าง มีผู้บาดเจ็บในที่ว.40 ไม่ทราบจำนวน กู้ชีพ 12 ก็ต้องตอบว่า ว.0 ,ว.25ที่ ว.40 ,ว.24 นี้ รับคำสั่ง