การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อ
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ผลการดำเนินงาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2552
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ขั้นตอนที่ 5(การนำเสนอแฟ้มผลงาน) โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การซักซ้อมแผนสื่อสารความเสี่ยงเพื่อตอบโต้ภาวะ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
แนวทางการเสริมพลังใจ บุคลากรสาธารณสุข
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
จังหวัดนครปฐม.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
กรณีความเสี่ยง DMSc.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี การประชุมเสริมศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข 30 ตุลาคม 2546

“เตรียมไว้….เผื่อภัยมา” First Episode

“ท่านเป็นพยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติงาน ณ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมุทรสาคร ขณะนั้นเป็นเวลา 18.00 น. เจ้าหน้าที่ตำรวจได้แจ้งว่าเกิดเหตุสารเคมีรั่วจากโรงงานแห่งหนึ่ง ในเขตอำเภอเมือง เมื่อประมาณ 10 นาทีก่อนหน้า มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก ขอให้ส่งเจ้าหน้าที่ไปดูแลผู้บาดเจ็บ ท่านจะทำอะไรบ้าง?”

“ถ้าโรงพยาบาลของท่านไม่มีแผนปฏิบัติการและไม่เคยซ้อมแผนรับอุบัติภัยเคมี รวมทั้งไม่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์ใดๆในการเข้าไปปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุ ท่านจะทำอย่างไร?”

“ท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองผู้บัญชาการ จัดการ (ตามแผน) ท่านจะจัดเตรียมคน อุปกรณ์ และอื่นๆอย่างไร สำหรับการปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุและที่โรงพยาบาล”

“หลังจากจัดการรับมือกับอุบัติภัยเคมีครั้งนี้ ได้มีการประชุมสรุปการดำเนินการ ที่เรียกว่า debriefing สำหรับเจ้าหน้าที่ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง พบ”ประเด็น”ที่น่าสนใจ คือ เจ้าหน้าที่ รถพยาบาลใช้เวลานานถึง 30 นาทีกว่าจะถึงจุดเกิดเหตุ, เจ้าหน้าที่ไม่ทราบว่าสารเคมีต้นเหตุคืออะไร ทำให้ไม่ได้ ป้องกันตนเองอย่างเหมาะสม รวมทั้งไม่ได้เก็บตัวอย่างส่งตรวจจากผู้ป่วย, มีผู้ได้รับบาดเจ็บเสียชีวิต 5 ราย(จากทั้งหมด 50 ราย) เพราะไม่สามารถวินิจฉัยอาการพิษได้ทันเวลา ท่านจะมีแนวทางในการแก้(หรือป้องกัน)ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างไร?”

คำถามหลัก 3 ข้อ โรงงานอยู่ที่ไหน ในโรงงานมีสารเคมีอะไรบ้าง สารต้องสงสัยมีพิษอะไร

Hot Zone อยู่ที่ไหน Arcview ข้อมูล อุตุนิยมวิทยา รหัสโรงงาน ALOHA รหัสโรงงาน รหัสสารเคมี โรงงาน อยู่ที่ไหน สารเคมี อะไร มีพิษ อย่างไร ผังเมือง กรมโรงงานฯ Cameo

“เตรียมไว้….เผื่อภัยมา” Second Episode

“หลังเกิดเหตุ 1 สัปดาห์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชิญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเข้าร่วมปรึกษาหารือ เนื่องจากอุบัติภัยที่เกิดขึ้นก่อความเสียหายค่อนข้างมากให้กับสิ่งแวดล้อมโดยรอบ รวมทั้งมีพนักงานในโรงงานเสียชีวิตและบาดเจ็บหลายราย ผู้อำนวยการสั่งให้ท่านเตรียมข้อมูลเพื่อนำเสนอในที่ประชุมกับผู้ว่าฯ ท่านจะมีแนวทางเตรียมข้อมูลอย่างไร?”

“ท่านเตรียมข้อมูลเสร็จแล้ว ผู้อำนวยการเรียกไปพบอีกครั้ง บอกว่ามีแต่ข้อมูลของสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่มีการนำเสนอแนวทางป้องกันปัญหา ท่านจะเตรียมข้อมูลอะไรเพิ่มเติมอีกบ้าง?”

“ในที่ประชุมกับผู้ว่าฯและหน่วยราชการอื่น มีการ”พาดพิง”ถึงโรงพยาบาลว่าไม่สามารถให้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้ โดยเฉพาะการ ตัดสินใจอพยพประชาชนที่อาศัยโดยรอบโรงงาน ต้นเหตุ ท่านผู้ว่าฯเองถึงกับตั้งคำถามว่า”ถ้ามีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นอีกข้างโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด ทีมสาธารณสุขจะสามารถจัดการให้เด็กนักเรียนปลอดภัยได้หรือไม่ ท่านจะช่วยผู้อำนวยการตอบคำถามเหล่านี้อย่างไร?”

อยู่ใน “เขตอันตราย” หรือไม่ Arcview ข้อมูล อุตุนิยมวิทยา ALOHA รหัสโรงงาน รหัสสารเคมี โรงงาน อยู่ที่ไหน สารเคมี อะไร มีพิษ อย่างไร ผังเมือง กรมโรงงานฯ Cameo

การเฝ้าระวังก่อนเกิดเหตุ การเฝ้าระวังหลังเกิดเหตุ กรมป้องกันฯ แจ้งเหตุ กรมควบคุมมลพิษ กรม คร. ระงับเหตุ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม เฉียบพลัน เรื้อรัง เฉียบพลัน เรื้อรัง triage การเฝ้าระวังหลังเกิดเหตุ เสียชีวิต เจ็บหนัก เจ็บน้อย เสี่ยง