เทคนิคการเป็นวิทยากรอบรมเข้มเสริมประสบการณ์วิชาชีพสาขาวิทยาการจัดการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เสน่ห์ จุ้ยโต สาขาวิชา วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Why KM 80% of workforce in the past were intensive labor/manual work 80% of workforce in the present are knowledge worker Peter F. Drucker
KM คืออะไร (What) ความรู้ (Knowledge) ปัญญา (Wisdom) ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data) ความรู้ (Knowledge) คือ สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด การเปรียบเชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆได้โดยไม่จำกัดช่วงเวลา
กระบวนการ KM เพื่อองค์การสู่ความเป็นเลิศ แบ่งเป็นความรู้ Share กระบวนการ เข้าถึงความรู้ Access Apply ประยุกต์ใช้ความรู้ ซึมซับความรู้ Learn
ทฤษฏีการฝึกอบรมแนวใหม่ ทฤษฏีการเรียนรู้ อย่างมีความสุข
ทฤษฏีการฝึกอบรมแนวใหม่ ทฤษฏีการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม
ทฤษฏีการฝึกอบรมแนวใหม่ ทฤษฏีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
ทฤษฏีการฝึกอบรมแนวใหม่ ทฤษฏีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย (ศิลปะ ดนตรี กีฬา)
ทฤษฏีการฝึกอบรมแนวใหม่ ทฤษฏีการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย (การฝึกฝน กาย วาจา ใจ)
การออกแบบวิธีการอบรม วิธีการถ่ายทอดเนื้อหาจากแหล่งความรู้ สู่ผู้รับเข้าการฝึกอบรม ก่อให้เกิดการเรียนรู้/พฤติกรรมที่ต้องการตามวัตถุประสงค์
กรวยแห่งการเรียนรู้ สัญลักษณ์ การสังเกต การฝึกปฏิบัติ
ประเภทเทคนิคการฝึกอบรม แบ่งตามกิจกรรม Telling Showing Doing แบ่งตามจำนวน กลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก รายบุคคล แบ่งตามบทบาท วิทยากร ผู้เข้าอบรม
วิทยากรเป็นศูนย์กลาง บรรยาย บรรยายชุด อภิปรายเป็นคณะโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ปุจฉาวิสัชนา สาธิต
ผู้เข้ารับการอบรมเป็นศูนย์กลาง ฝึกปฏิบัติ ระดมสมอง อภิปรายกลุ่ม กรณีศึกษา บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง การดูงานนอกสถานที
การบรรยาย(Lecture) ถ่ายทอดเนื้อหา ที่ได้เตรียมไว้ ด้วยการพูด
พัฒนาสู่วิทยากรมืออาชีพ ผู้ทรงภูมิความรู้ ผู้มีศิลปะการถ่ายทอด ผู้กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
ผู้ทรงภูมิความรู้ ความรอบรู้ในเนื้อหานั้น(Content Expert) ความรอบรู้ในกระบวนการฝึกอบรม(Training Expert) การสำรวจความต้องการ การวางแผนเตรียมการและการออกแบบหลักสูตร การดำเนินการฝึกอบรม การประเมินผลการฝึกอบรม
ผู้มีศิลปะการถ่ายทอด จัดลำดับเนื้อหา มิติกระบวนการ/ขั้นตอน มิติเวลา มีเหตุ-ผล มิติระบบใหญ่-ระบบย่อย มิติระบบย่อย-ระบบใหญ่ มิติความสนใจของผู้อบรม มิติแผนผังแนวคิด(Concept Map)
พัฒนาความพร้อม สร้างความมั่นใจในตนเอง ฝึกซ้อมก่อนเป็นวิทยากร
นอบน้อมเรียนรู้บูรณาการ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ประสบการณ์ วิทยากรมีความรู้ประสบการณ์
เชี่ยวชาญการพูด วัตถุประสงค์การพูด วิธีการการพูด โครงสร้างการพูด
ต.ต.ต. ก.ก.ก. จ.จ.จ.
ผู้กระตุ้นการเรียนรู้ ผู้เข้ารับการอบรมเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ใช้เทคนิคการฝึกอบรมหลากหลาย ใช้เกม/กิจกรรมสร้างบรรยากาศเรียนรู้ ใช้สื่อประสม การทำงานเป็นทีมของวิทยากร
กระบวนการฝึกอบรมโดยการบรรยาย ขั้นเตรียมการเขียนแผนการบรรยาย - วัตถุประสงค์ - เนื้อหา - วิธีการ - สื่อ - เวลา - เวลาสะสม
ขั้นบรรยาย Introduction Body Conclusion
ขั้นประเมินผล Reaction Learning Behavior Result
เทคนิคการเป็นวิทยากรกระบวนการ ใช้คำถามประกอบ ใช้ตัวอย่างประกอบ ใช้กิจกรรมประกอบ ใช้สื่อประกอบ