ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
แนวทางการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ปี 2550 รัชนีกร กุญแจทอง นักวิชาการสาธารณสุข 7 ว. กลุ่มโรคไม่ติดต่อ.
การวางแผน การวางแผน เป็นกระบวนการตัดสินหรือกำหนดกิจกรรมและการดำเนิน การเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล.
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
โรคเบาหวาน ภ.
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด หลักการและเหตุผล ศูนย์บริการสาธารณสุข......เป็นหน่วยงานหนึ่งที่รับผิดชอบประชาชนในเขต.......... มีประชากรทั้งสิ้น 49, 280 คน จากการตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ 2551 ตามโครงการรักษ์สุขภาพผู้สูงวัยเฉลิมพระเกียรติ ระหว่าง วันที่ 14 – 15 พฤศจิกายน 2550 พบว่า ผู้ได้รับการตรวจทั้งหมด 100 คน มีผลน้ำตาลในเลือดสูง ร้อยละ 56 ไขมันในเลือดสูง ร้อยละ 63 ความดันสูง ร้อยละ 40 โดยมีพฤติกรรมชอบกินหวานจัด ร้อยละ 20 มันจัด ร้อยละ 30 เค็มจัด ร้อยละ 40 ออกกำลังกายเป็นประจำร้อยละ......

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด 4.1 มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ในเรื่องการรับประทานอาหาร ออกกำลังกาย และการจัดการความเครียดไปในทางที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น 4.2 ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย หรือเส้นรอบเอวเกินเกณฑ์ มีระดับดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอวลดลงจากเดิม 4.3 ผู้ที่มีค่าความดันโลหิต/ไขมันในเลือด/น้ำตาลในเลือดสูง มีค่าลดลงจากเดิม 4.4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปในการเข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไป ได้แก่ ค่า BMI > 23.9, รอบเอว> 36 นิ้วในผู้ชาย > 32 นิ้วในผู้หญิง, ความดันโลหิตมากกว่า 130/90 mmHg, น้ำตาลในเลือด > 110 mg% จำนวน 40 คน

รูปแบบการจัดกิจกรรมโครงการ โปรแกรมปรับพฤติกรรม แบบไป-กลับ ตามนัดของชมรมผู้สูงอายุ ครั้งละ 4 ชั่วโมง จำนวน 5 ครั้ง เดือนละ 1 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 25 มีนาคม 2552 เวลา 8.00- 12.00 น. -ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้ว วัดพฤติกรรม - กิจกรรมสร้างสัมพันธภาพเพื่อเสริมพลัง - กิจกรรมฝันดี ฝันร้าย และสุขภาพที่คาดหวัง - วิเคราะห์ประสบการณ์การดูแลตนเอง - เรียนรู้เรื่องโรคอ้วน เบาหวาน ความดัน - ตั้งเป้าหมายสุขภาพ สรุปกิจกรรม วางแผนนัดหมายครั้งต่อไป

ครั้งที่ 2 - ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต - ละลายพฤติกรรม - ทบทวนการเรียนรู้ในครั้งที่ 1 และการปฏิบัติในเดือนที่ผ่านมา - เรียนรู้เรื่องอาหารเพื่อการลดน้ำหนัก น้ำตาลและความดัน - สรุปกิจกรรม ตั้งเป้าหมายสุขภาพ วางแผนนัดหมายครั้งต่อไป ครั้งที่ 3 - ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต -ละลายพฤติกรรม -ประเมินการบรรลุเป้าหมายสุขภาพ และการปฏิบัติในเดือนที่ผ่านมา -กิจกรรมรักษ์สุขภาพสร้างชีวิตให้ยืนยาว -สาธิตการออกกำลังกายพร้อมฝึกปฏิบัติ -สาธิตและฝึกปฏิบัติการจัดการความเครียด - สรุปกิจกรรม ตั้งเป้าหมายสุขภาพ วางแผนนัดหมายครั้งต่อไป

ครั้งที่ 4 - ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว ครั้งที่ 4 - ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว - ประเมินการบรรลุเป้าหมายสุขภาพ และการปฏิบัติในเดือนที่ผ่านมา - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ค้นหาบุคคลต้นแบบ - ละครคน (ฝึกทักษะการแก้ปัญหา และการเอาชนะอุปสรรค) - ตามตอบปัญหาในการดูแลตนเอง - สรุปกิจกรรม ตั้งเป้าหมายสุขภาพ วางแผนนัดหมายครั้งต่อไป

ครั้งที่ 5-ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะเลือดปลายนิ้ว - ทำแบบทดสอบหลังเข้าร่วมโครงการ - ละลายพฤติกรรม - สรุปกิจกรรมปัญหาอุปสรรค/นำเสนอแนวทางเพื่อการ ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่ได้ผลและยั่งยืน - สร้างเครือข่ายการดำเนินงาน -ประเมินพฤติกรรมและความพึงพอใจ - ประกาศรายชื่อผู้เป็นแบบอย่างดีเด่น มอบวุฒิบัตรและรางวัล

ตัวชี้วัด 1) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมในด้านการรับประทานอาหารเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น 2) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมในด้านการออกกำลังกายเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น โดยร้อยละ 70 มีการออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที 3 ครั้ง/สัปดาห์ 3) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมจัดการความเครียดได้ดีขึ้น

ตัวชี้วัด 4) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีค่าดัชนีมวลกาย/รอบเอวเกินเกณฑ์ มีค่าดัชนีมวลกาย/รอบเอว ลดลง 5) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีค่าความดันโลหิต/น้ำตาลในเลือดสูงมีค่าลดลง 6) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไปในการเข้าร่วมโครงการ

วิธีการประเมินผล แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมวัดก่อนและหลังเข้าโครงการ 4 เดือน แบบวัดความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการ แบบลงข้อมูลภาวะสุขภาพ เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ำหนัก อุปกรณ์เจาะเลือด DTX