งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
การเขียนบทความ.
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
เล่าเรื่อง:โครงการเก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระบวนการตีพิมพ์งานวิจัย ในวารสารวิชาการ
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/05/51.
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
โดย รศ. ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ 29 กันยายน 2548
Thesis รุ่น 1.
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data.
การจัดทำค่า Impact Factor จากฐานข้อมูล JCR บนเว็บไซต์
การเตรียมตัว สู่ตำแหน่งวิชาการ
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Management Information Systems
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การทำวิทยานิพนธ์อย่างไรให้สำเร็จอย่างมีความสุข
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/11/51.
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
การเขียนรายงานการวิจัย
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 บทนำ.
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
วช.เพิ่มมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญาสู่เชิงพาณิชย์
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
แนวคิดในการทำวิจัย.
กระบวนการวิจัย Process of Research
การสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ ให้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
องค์ความรู้ด้านการวิจัย
โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร? การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ประจำปี 2553 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 8 เมษายน 2553 ณ อาคารสัมมนา 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร? รศ.ดร.วันชัย จันทร์ประเสริฐ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Editor-in-Chief: Kasetsart Journal (Natural Science)

การคัดสรรงานวิจัย คัดสรรเพื่ออะไร? เพื่อให้ทุนอุดหนุนการวิจัย เพื่อให้รางวัล - เชิดชูเกียรติ

วิธีคัดสรรงานวิจัยที่ดีเพื่อให้ทุน-ให้รางวัล กำหนดเกณฑ์ตัดสินให้เหมาะสม รอบคอบ ยุติธรรม ดำเนินการคัดสรรด้วยกระบวนการที่มีมาตรฐาน โปร่งใสปราศจากอคติ และเป็นที่ยอมรับ

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพงานวิจัย งานวิจัยมีที่มาต่างกัน ปัจจัยที่สำคัญได้แก่ นักวิจัย ทุนวิจัย และ ปัจจัยแวดล้อมหรือความพร้อมขององค์กรที่นักวิจัยสังกัด องค์ประกอบของงานวิจัย ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการหรือการดำเนินงานวิจัย (Process) ผลงาน (ผลผลิต / outputs)

งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร? ตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์ตัดสิน ความชัดเจนของการนำเสนอโครงร่างหรือข้อเสนองานวิจัย ศักยภาพของงานวิจัยที่จะมีผลกระทบต่อสังคม คุณภาพของการวางแผนและวิธีวิจัย ประวัติและเกียรติประวัติของหัวหน้าโครงการ ความเหมาะสมของทุนวิจัย แผนการดำเนินงาน และการใช้จ่ายงบประมาณ ผลกระทบของโครงการต่อการพัฒนางานวิจัย (แต่ละข้อมีเกณฑ์กำกับการให้คะแนนอย่างชัดเจน)

งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร? การคัดสรรงานวิจัย ผลงาน (output) ผลลัพธ์ (outcome) ผลกระทบ (impact)

งานวิจัยที่ดีคัดสรรมาได้อย่างไร? พิจารณาจาก... ผลงานวิจัยที่สังคมนำไปใช้ประโยชน์ บทความวิจัยในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ (วารสารที่มี JIF) หรือการนำเสนอผลงานในเวทีนานาชาติ (ได้รับรางวัลการนำเสนอในการประชุมนานาชาติ) ผลงานสร้างสรรค์ หรือสิ่งประดิษฐ์ (สิทธิบัตร)

วารสารมาตรฐานนานาชาติ

การจัดอันดับวารสารในประเทศไทย สกอ. TCI (Thai-Journal Citation Index)

วารสารที่ สกอ. ประกาศให้เป็น International Journals ScienceAsia Songklanakarin Journal of Science and Technology ECTI Transactions on Electrical Engineering, Electronics and Communication (ECTI-EEC) Thai Journal of Agricultural Science Asian Pacific Journal of Allergy and Immunology The Southeast Asian Journal of Tropical Medicine and Public Health Journal of the Medical Association of Thailand Thai Forest Bulletin Siriraj Hospital Gazette Asian Biomedicine (Research, Reviews and News) Asian Journal of Energy and Environment Journal of Environmental Research Kasetsart Journal (Natural Science)

เกณฑ์การพิจารณาคุณภาพวารสาร ออกตรงเวลา มี peer review คุณวุฒิและเกียรติประวัติของ editorial board & advisory editorial board คุณวุฒิและเกียรติประวัติของ reviewer ขอบเขตการเผยแพร่และความแพร่หลายของวารสาร การเข้าถึง website แหล่งที่มาของเรื่องที่ลงตีพิมพ์ ความเป็นนานาชาติ การถูกรวมเข้าใน database ต่าง ๆ (ที่สำคัญ SCI, SCOPUS) การถูกอ้างอิงในวารสารนานาชาติอื่น ๆ (citation)

ฐานข้อมูลที่จัดอันดับคุณภาพวารสารด้วย Impact Factor Institute for Scientific Information (ISI) – Thomson Reauters

Journal Citation Report of ISI JCR provides quantitative tools for ranking, evaluating, categorizing, and comparing journals. The impact factor is one of these; it is a measure of the frequency with which the "average article" in a journal has been cited in a particular year or period. ต้องบอกรับเป็นสมาชิกจึงจะสามารถเข้าดูผลการจัดอันดับ Impact factor ได้ ขณะนี้ สถาบันที่บอกรับได้แก่ CU, Mahidol & TU

Impact Factor: How to calculate? The impact factor for a journal is calculated based on a three-year period, and can be considered to be the average number of times published papers are cited up to two years after publication. For example, the impact factor 2010 for a journal would be calculated as follows: A = the number of times articles published in 2008-9 were cited in indexed journals during 2010 B = the number of articles, reviews, proceedings or notes published in 2008-2009 impact factor 2010 = A/B (note that the impact factor 2009 will be actually published in 2010, because it could not be calculated until all of the 2009 publications had been received. Impact factor 2010 will be published in 2011) คิดขื้นโดย Dr Eugene Garfield ~1996

เปรียบเทียบค่า JIF ของวารสารวิชาการสาขาต่างๆ Discipline Av IF of top-ten journals Immunology 16.778 Microbiology 10.578 Infectious Diseases 5.583 Entomology 3.430 Food Sci & Tech 2.958 Zoology 2.901 Veterinary sciences 2.300 Agronomy 2.023 Agric, Dairy & Anim Sci 1.879 Soil Sci 1.766 Forestry 1.725

ความคิดเห็น ต่อค่า IF ขึ้นอยู่กับ res field อาจไม่เป็นธรรมชาติ เป็นการนับเชิงปริมาณ วารสารที่ดี มีคุณภาพ สูงและได้รับการยอมรับอย่างสูง อาจมีค่า IF ต่ำก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วารสารวิชาการเฉพาะทาง

SCI -> ค่า JIF (journal impact factor) SCOPUS -> ค่า SJR, SNIP ฐานข้อมูลนานาชาติที่จัดอันดับวารสารวิชาการ และดัชนีการอ้างอิงวารสารวิชาการนานาชาติ ฐานข้อมูลนานาชาติ ค่าดัชนีชี้วัดคุณภาพวารสาร SCI -> ค่า JIF (journal impact factor) SCOPUS -> ค่า SJR, SNIP Harzing’s Publish or Perish -> h-index, g-index etc. ERA -> Grade A*, A, B, C

การจัดอันดับวารสารนานาชาติของ SCOPUS ค่า SJR และค่า SNIP Scopus® is a registered trademark of Elsevier B.V. Copyright © 2010 Elsevier B.V. All rights reserved.

Kasetsart Journal (Natural Science) มี SJR = 0.036 Kasetsart Journal (Social Sciences) มี SJR = 0.034

Kasetsart Journal (Natural Science) มี SNIP = 0.067 Kasetsart Journal (Social Sciences) มี SNIP =

การสืบค้นการอ้างอิงของวารสารนานาชาติในฐานข้อมูล Harzing’s Publish or Perish

Journal impact analysis พิมพ์ Kasetsart Journal

ฐานข้อมูล The Excellence in Research for Australia ERA

Rank Interpretation A* Best or leading journal in its field - publishes outstanding, original and rigorous research that will shape the field. Acceptance rates are typically low and the editoria lboard is dominated by leading scholars in the field or subfield, including from top institutions in the world. Where relevant to the field or subfield, the journal has the highest impact factors or other indices of high reputation. A Highly regarded journal in the field or subfield - publishes excellent research in terms of originality, significance and rigour, has competitive submission and acceptance rates, excellent refereeing process and where relevant to the field or subfield, has higher than average impact factors. Not all highly regarded journals have high impact factors, especially those in niche areas. B Well regarded journal in the field or subfield - publishes research of a good standard in terms of originality, significance and rigour and papers are fully refereed according to good standards and practices but acceptance rates are higher than for Tiers A* and A. Depending on the field or sub-field, will have a modest impact factor and will be ISI listed. C A recognised journal - publishes research that is of a modest standard and/or is

งานวิจัยที่ดี - คัดสรรเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ

ต้องมาจากงานวิจัยที่มีคุณภาพ Paper ที่ดี ต้องมาจากงานวิจัยที่มีคุณภาพ

งานวิจัยที่มีคุณภาพ Originality วัตถุประสงค์ชัดเจน ค้นคว้าและตรวจเอกสารงานวิจัยครอบคลุมทั่วถึง วางแผนทางสถิติถูกต้องและเหมาะสม วิธีวิจัยถูกต้องและสุ่มเก็บข้อมูลเหมาะสม วิเคราะห์และแปลผลถูกต้อง

ลักษณะที่ดีของบทความวิจัย ชื่อเรื่อง : ชัดเจน เข้าใจง่าย ครอบคลุมขอบข่ายของปัญหาที่ศึกษา ความเป็นมา : อธิบายถึงปัญหาอย่างชัดเจน บอกเจตนาและเหตุผลของการวิจัย กล่าวถึงรากฐานทางทฤษฎีของงานวิจัย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์งานวิจัย : ชัดเจนและครอบคลุม วิธีวิจัย : มีรายละเอียด รัดกุม ระบุจำนวนและขนาดตัวอย่าง การวางแผนงานทางสถิติที่เหมาะสม ผล : ลำดับเนื้อหาเหมาะสม แสดงผลทางสถิติ ตาราง รูป มีคำอธิบายได้ครอบคลุม อ่านเข้าใจได้รวดเร็ว ชี้ประเด็นสำคัญของผลการวิจัย วิจารณ์ : อภิปรายในประเด็นสำคัญต่าง ๆ กล่าวอ้างเปรียบเทียบกับงานวิจัยที่ผ่านมา สรุป : สรุปผลการทดลองในประโยคหรือย่อหน้าท้ายของวิจารณ์ หรือผลและวิจารณ์

ผลงานวิจัยสำเร็จสมบูรณ์ ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ ผลงานวิจัยสำเร็จสมบูรณ์ ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ

การคัดสรรงานวิจัยที่ดีจากผลงานตีพิมพ์

การคัดสรรงานวิจัยที่ดีจากผลงานตีพิมพ์

การคัดสรรงานวิจัยที่ดีจากผลงานตีพิมพ์

การคัดสรรงานวิจัยที่ดีจากผลงานตีพิมพ์

ขอบคุณครับ