เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
Advertisements

สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารหลัก 5 หมู่.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
สื่อประกอบการเรียนรู้
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การเจริญเติบโตของมนุษย์
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
โรคเบาหวาน ภ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
การเจริญเติบโตของร่างกาย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก: เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก: 1.ด.ช.ชินพัฒน์ เดชาเลิศพิพัฒน์ ม.1/5 เลขที่8 2.ด.ญ.ณิชารีย์ หมื่นสุวรรณ์ ม.1/5 เลขที่13 3.ด.ญ.ลภัสรดา สุทธิคนึง ม.1/5 เลขที่36 4.ด.ญ.อาทิตยา ชัยเต็ม ม.1/5 เลขที่47 5.ด.ช.อิทธินันท์ เทพพันธ์กุลงาม ม.1/5 เลขที่49

สาเหตุของปัญหา 1. ด. ช. อิทธินันท์ มีรูปร่าง สมส่วน 2. ด. ญ สาเหตุของปัญหา 1.ด.ช.อิทธินันท์ มีรูปร่าง สมส่วน 2.ด.ญ.ณิชารีย์ มีรูปร่าง สมส่วน 3.ด.ญ.ลภัสรดา มีรูปร่าง สมส่วน 4.ด.ญ.อาทิตยา มีรูปร่าง สมส่วน 5.ด.ช.ชินพัฒน์ มีรูปร่าง สมส่วน บทที่1 วิธีแก้ไขคือ รับประทานอาหารให้มีความหลากหลายและต้องครบ5หมู่อีกด้วย และต้องควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในระดับสมส่วนอยู่ตลอดเวลา เราควรหลีกเลี่ยงพวกขนม เเละอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูง เเต่ก็ต้องรับปริมาณน้ำตาลเช่นกัน ซึ่งควรได้รับ24กรัมต่อวัน เราควรทานข้าวและแป้งด้วยเป็นหลัก ต่อมาก็ทานผักเเละผลไม้ด้วยเป็นประจำ ส่วนเนื้อสัตว์นั้นควรทานในปริมาณน้อย เเละควรหลีกเลี่ยงอาหารติดมัน  วัตถุประสงค์ 1.เพื่อวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทาง ร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน 2.เพื่อแสวงหาแนวทางในการพัฒนา ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 3.เพื่อศึกษาวิธีการเลือกกินอาหารที่ เหมาะสมกับวัย

2. แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 2 2.แนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 2.1อาหาร วัยรุ่นต้องการอาหารเเละพลังงานเพื่อใช้ในการเสริมสร้างการเจริญเติบโต บทที่2 1.การเปลี่ยนเเปลงการเจริญเติบโตของวัยรุ่น เพศชาย                         เพศหญิง -จะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ตอน17-18ปี   -เริ่มมีประจำเดือน -เสียงทุ้มหรือเสียงห้าว-หน้าอกขยายใหญ่ขึ้น -มีขนบริเวณอวัยวะเพศ -สะโพกผาย                 -เริ่มมีการเจริญเติบโต ของลูกอัณฑะ     -เสียงเเหลม -ไหล่กว้าง       -มีไข่สุก1ใบ ในรอบ28วัน   -มีกลิ่นตัว     -มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะเพศ -อวัยวะเพศขยายใหญ่ขึ้น 2.2การออกกำลังกาย ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ การอบอุ่นร่างกาย การออกกำลังกาย การผ่อนให้เย็นลง 2.3การพักผ่อน ช่วยให้ร่างกายได้ผ่อนคลายจากความเครียด ความเหนื่อยล้า  3.อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น 4.วิธีการดูเเลน้ำหนักตัว 5.วิธีการสร้างเสริมเเละปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย

บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1.กิจกรรมเก่งจังกินผักได้:20/11/2555 2.กิจกรรมกินเท่าไรใช้ให้หมด:21/11/2555 3.กิจกรรมการออกกำลังกาย:22/11/2555

บทที่4 ผลการดำเนินงาน ชื่อ น้ำหนัก ส่วนสูง อดีต ปัจจุบัน ด.ช.อิทธินันท์ สูง149ซม. น้ำหนัก39กก. สูง154ซม. น้ำหนัก42กก. ด.ญ.ณิชารีย์ สูง146ซม. น้ำหนัก37กก. สูง149ซม. น้ำหนัก38กก. ด.ญ.ลภัสรดา สูง156ซม. น้ำหนัก56กก. สูง159.5ซม. น้ำหนัก54.5กก. ด.ญ.อาทิตยา  สูง158ซม. น้ำหนัก49กก. สูง161ซม. น้ำหนัก49กก. ด.ช.ชินพัฒน์  สูง163ซม. น้ำหนัก45กก. สูง170ซม. น้ำหนัก50กก.

1.ด.ช.อิทธินันท์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น5ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้น3กก. บทที่5 สรุปผลการดำเนินงาน 1.ด.ช.อิทธินันท์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น5ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้น3กก. 2.ด.ญ.ณิชารีย์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น3ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้น1กก. 3.ด.ญ.ลภัสรดา ส่วนสูงเพิ่มขึ้น3.5ซม. น้ำหนักลดลง 1.5กก. 4.ด.ญ.อาทิตยา ส่วนสูงเพิ่มขึ้น3ซม. น้ำหนักเท่าเดิม 5.ด.ช.ชินพัฒน์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น7ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้น5กก.

บรรณานุกรม http://sumon-kananit.socialgo.com