การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Somwang Witayapanyanond 26 April 2013
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
การเลือกคุณภาพสินค้า
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
Laboratory in Physical Chemistry II
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
เรื่องคลอรีนในน้ำบรรจุขวด
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค ขององค์กรปกครองท้องถิ่น
สิ่งที่ไม่ควรทำหลังการรับประทานอาหาร (7 ประการ)
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การเพ้นท์ผ้าบาติก น.ส.สุภาพ ชื้อผาสุข.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
การป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานพ่นเคมี
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์การคัดเลือก และเงื่อนไข “ร้านถูกใจ”
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
เครื่องซักผ้า.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
Phosphorus and Phosphate
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
สารเคมีในบ้านเป็นกรดหรือเบส
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Easy way to Estimate Training Project
: ชุดทดสอบสารกำจัดแมลง กลุ่มไพรีทรอยด์
FUNGICIDES : DITHIOCARBAMATE TEST KIT
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
วิชา งานสีรถยนต์.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 6 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับอาหาร และเครื่องดื่ม
การเปลี่ยนหลอดบรรจุเลือด ในการทดสอบ coagulogram (PTT, PT )
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
คุณภาพน้ำและ มาตรฐานน้ำบริโภค
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบหาปริมาณแคลเซียมในน้ำดื่ม

ด.ช.พงศกร ชมสวน ม1/3 เลขที่ 36 ด.ญ.ชนิดาภา ดวงรัศมี ม1/3 เลขที่ 12 สมาชิกกลุ่ม ด.ช.พงศกร ชมสวน ม1/3 เลขที่ 36 ด.ญ.ชนิดาภา ดวงรัศมี ม1/3 เลขที่ 12 ด.ญ.ปานชีวา โฆษิตเจริญกุล ม1/3 เลขที่ 34 ด.ช.ธิติ เลิศสุทธิเมตตา ม1/3 เลขที่ 27 ด.ช.อดิศร กลึงมั่น ม1/3 เลขที่ 58 ด.ช.อภิชา วุฒินานนท์ ม1/3 เลขที่ 59

เลือกซื้อน้ำที่มีคุณภาพและ เพื่อสุขภาพของผู้ดื่ม จุดประสงค์ เพื่อความรู้ทางการ เลือกซื้อน้ำที่มีคุณภาพและ เพื่อสุขภาพของผู้ดื่ม

น้ำยาวัดปริมาณแคลเซียมในน้ำ อุปกรณ์ น้ำยาวัดปริมาณแคลเซียมในน้ำ C-1 C-3 C-2

วิธีการทดลอง

ใส่น้ำตัวอย่างให้ถึงขีด 5 ml C-1 จากนั้นหยดน้ำยาc-1จำนวนแปดหยดแล้วเขย่าให้เข้ากัน

จากนั้นหยดน้ำยาอินดิเคเตอร์ c-2ลงไป2หยดแล้วเขย่าให้เข้ากัน จะออกมาเป็นสีชมพูอมม่วง

หยดน้ำยาc-3ลงไปจนกว่าจะกลายเป็นสีม่วง

น้ำกรอง

น้ำดื่มสปริงเคิล

น้ำกรอง น้ำดื่มเนสเร่ น้ำดื่มสปริงเคิล น้ำดื่มมิเนเร่

ผลการทดลอง ยี่ห้อ/ชนิดของน้ำ จำนวนหยด ของน้ำยา C-3 ปริมาณแคลเซียม Mg/L น้ำดื่มสปริงเคิล 1 20 น้ำดื่มมิเนเร่ น้ำดื่มเนสเร่ 2 40 น้ำกรอง 3 60

สรุปผลการทดลอง น้ำกรองมีปริมาณแคลเซียมมากที่สุดคือ 60 mg/L

สรุปผลการทดลอง มาตรฐานคุณภาพน้ำดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ความกระด้างทั้งหมด(Total Hardness) (คำนวณจากปริมาณแคลเซียม) )มีมาตรฐานการแบ่งระดับความกระด้างของน้ำดังต่อไปนี้ ปริมาณแคลเซียม 0 -75 mg/L เรียก น้ำอ่อน ปริมาณแคลเซียม 75 - 150 mg/L เรียก น้ำกระด้างปานกลาง ปริมาณแคลเซียม 150 - 300 mg/L เรียก น้ำกระด้าง ปริมาณแคลเซียม 300   mg/L ขึ้นไป เรียก น้ำกระด้างมาก

สรุปผลการทดลอง มาตรฐานความกระด้างของน้ำดื่ม อยู่ที่ไม่เกิน 100 mg/L สำหรับน้ำใช้หรือน้ำบาดาล จะอยู่ที่ไม่เกิน 300 mg/L จากผลการทดลอง : แสดงว่าน้ำดื่มทั้ง 4 ชนิด สามารถใช้ดื่มได้เนื่องจากปริมาณ แคลเซียมไม่เกินค่ามาตรฐาน คือ 100 mg/L

สรุปผลการทดลอง      น้ำที่ใช้บริโภคได้ ถ้ามีคุณลักษณะเป็นน้ำค่อนข้างกระด้าง โดยเฉพาะเป็นน้ำกระด้างที่มีไอออนลบจำพวกคาร์บอเนตไอออนจะมีรสชาติดี ทำให้รู้สึกสดชื่น และโดยปกติอุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ไม่สามารถทำให้น้ำที่มีความกระด้างเกิดตะกอนหรือตะกรันอุดตันอวัยวะต่าง ๆ ได้ เราจึงดื่มน้ำที่มีความกระด้างได้นั่นเอง      น้ำประปาที่ใช้อุปโภค ถ้ามีความกระด้างต่ำจะทำให้ใช้น้ำไม่สะดวก เช่น ในการอาบน้ำ หรือซักผ้า จะทำให้ล้างสบู่หรือผงซักฟอกออกยาก จึงมีกระบวนการในการเพิ่มความกระด้างของน้ำ เพื่อทำให้น้ำประปามีความสะดวกต่อผู้ใช้น้ำมากขึ้น