สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (THINK)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การจัดทำผังรวมสถิติ ด้านเศรษฐกิจ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สสช. เชิงรุก : ตอน “ เราได้อะไรจาก... สำมะโน อุตสาหกรรม พ. ศ ” นางธนนุช ตรีทิพยบุตร เลขาธิการสถิติแห่งชาติ 26 มกราคม 2550.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
การนิเทศติดตาม.
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
สรุปผลการดำเนินงานการแพทย์แผนไทยโซน
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ยาในประเทศไทย สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ปรียา มิตรานนท์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บรรยายที่กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ 20 ก.ค. 49

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ความเป็นมาของโครงการ สอส. : สำรวจ : 2517-2521 จัดทำทุกปี 2524-2544 จัดทำทุก 5 ปี 2546-2550 จัดทำทุกปี

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย วัตถุประสงค์ของโครงการสำรวจ สอส. : 1. เพื่อศึกษาข้อมูลภาวะการเจ็บป่วย 2. การเข้ารับบริการด้านสาธารณสุข 3. วิธีการรักษาพยาบาลเวลาเจ็บป่วย 4. การเข้าถึงของสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ของประชากร

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย การนำเสนอข้อมูล : 1. รายงานผลเบื้องต้น 2. รายงานผลฉบับสมบูรณ์ 3. CD-ROM รายงานผลฉบับสมบูรณ์ 4. การเผยแพร่สรุปผลที่สำคัญทาง Web-Site สสช. (www.nso.go.th)

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ขอบข่ายการศึกษาครั้งนี้ :  บุคคลผู้อาศัยในครัวเรือนส่วนบุคคล ทั่วประเทศ  ศึกษาข้อมูลปี 2546, 2547 และ 2548 ปี 2548 : ดำเนินการสำรวจ 1-12 เม.ย. 2548 สำรวจครั้งที่ 13

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล :  สัมภาษณ์ครัวเรือนตัวอย่าง ปี 2546 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน ปี 2547 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน ปี 2548 ตัวอย่าง 27,000 ครัวเรือน

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แนวทางการศึกษา สอส. ที่เกี่ยวข้องกับ การแพทย์แผนไทย : 1. ประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาล 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและ สังคม 3. วิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการ รักษาพยาบาล

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย การเจ็บป่วย (ป่วยครั้งสุดท้าย) ระหว่าง 1 เดือนก่อน วันสำรวจ ถามเฉพาะผู้ป่วย หรือรู้สึกไม่สบาย คำถาม จาก การสำรวจ อนามัย และ สวัสดิการ การเจ็บป่วย และ การไปรับ บริการ สาธารณสุข (ถามทุกคน) ใช้ยาแผนโบราณ/ ยาสมุนไพร วิธีการรักษาพยาบาล หมอพื้นบ้าน/ หมอแผนโบราณ ซื้อยากินเอง รักษา ไม่รักษา ไปสถานีอนามัย ฯลฯ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย คำนิยามจากสอส. : 1. ยาแผนโบราณ 1.1 ความหมาย  ยาที่ใช้บำบัดโรค  ความรู้จากตำรายาแผนโบราณ  ขึ้นทะเบียนตามพรบ. 2517-2520  ผลิตแบบธรรมชาติไม่ซับซ้อน

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย คำนิยามจากสอส. : (ต่อ) 1. ยาแผนโบราณ (ต่อ) 1.2 รูปแบบ 2 รูปแบบ :  ยาแผนโบราณสำเร็จรูป  ยาสามัญประจำบ้าน  ยาแผนโบราณในรูปของสมุนไพรต่างๆ  ยาหม้อ  ยาต้ม  ยาพื้นบ้าน ฯลฯ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย คำนิยามจากสอส. : (ต่อ) 2. หมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ 2.1 ความหมาย : มีความรู้ในการรักษาโรค หรือ อาการเจ็บป่วย 2.2 วิธีการรักษา :  ใช้ยาแผนโบราณ  ยาสมุนไพรต่างๆ  วิธีการนวดแผนโบราณ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ประเด็นที่นำเสนอจากผลการศึกษา : 1. ประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาล  ประชากรที่ป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย  วิธีการรักษาพยาบาล 2. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม  เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ 3. วิเคราะห์สถานการณ์/แนวโน้มการรักษา พยาบาล 4. ข้อเสนอจากผลการศึกษาครั้งนี้

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 1 จำนวนและร้อยละของประชากรที่ป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากรที่ได้รับการรักษาและไม่รักษา จากอาการป่วย/รู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 (จำนวน : พันคน) แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 3 ร้อยละของประชากรจำแนกตามวิธีการรักษาพยาบาลใน การป่วย/รู้สึกไม่สบาย พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 4 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร และการไปหาหมอ พื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 5 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตามโครงสร้างอายุ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 6 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามโครงสร้างอายุ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 7 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 8 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามระดับการศึกษาที่สำเร็จ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 9 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนก ตามการประกอบอาชีพ 3 ลำดับสูงสุด พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 10 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตามการประกอบอาชีพ 3 ลำดับสูงสุด พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 11 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร และรักษาโดยไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตาม กลุ่มโรคที่ป่วยครั้งสุดท้าย 5 อันดับแรก พ.ศ. 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 12 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการใช้ยาแผนโบราณ/ยาสมุนไพร จำแนกตาม 5 อันดับแรกของกลุ่มโรค พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย แผนภูมิที่ 13 ร้อยละของประชากรที่รักษาโดยการไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ จำแนกตาม 5 อันดับแรกของกลุ่มโรค พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 แหล่งข้อมูล : สำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2546, 2547 และ 2548 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอต่อนโยบาย : 1. ควรกำหนดแนวทาง นโยบาย และยุทธศาสตร์ที่ ชัดเจนในการพัฒนาวิธีการรักษาด้วยการแพทย์ แผนไทย 2. ควรให้ความรู้/ความเข้าใจและเผยแพร่วิธีการ รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยให้ประชาชนมีความ เข้าใจอย่างถูกต้องและชัดเจน 3. พัฒนามาตราฐาน คุณภาพ ตลอดจน สนับสนุนการแพทย์แผนไทย

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอต่อการพัฒนาระบบข้อมูล : ควรมีการสำรวจโดยเฉพาะในด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ได้ความชัดเจนและรายละเอียดของข้อมูลเพิ่มขึ้น 2. พัฒนา/จัดทำตัวชี้วัดด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแพทย์ แผนไทย ซึ่งสามารถนำไปใช้วัดและประเมินในเรื่อง ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ควรมีการพัฒนาข้อมูล และศึกษาอย่างต่อเนื่องและเป็น ระบบรวมทั้งจัดทำฐานข้อมูล (Data Base) เพื่อให้สะดวก ในการสืบค้น

สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอต่อการศึกษาวิจัย : 1. ควรศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทย กับการใช้วิธีการรักษาพยาบาลที่เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย 2. ควรศึกษาเพื่อติดตามสถานการณ์/แนวโน้มอย่างต่อเนื่องรวมทั้ง ควรศึกษารายละเอียดในระดับพื้นที่ย่อย เช่น เขตเมือง/ เขตชนบท และระดับจังหวัด 3. ในการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยต้อง คำนึงถึงนิยามที่นำมาใช้ในการสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูล เพราะมี ผลต่อข้อมูลเป็นอย่างมาก 4. ระเบียบวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คำนิยาม ขอบข่าย การ เก็บข้อมูล ฯลฯ ต้องได้มาตราฐานและเป็นรูปแบบเดียวกัน

ขอบคุณค่ะ