Research Mapping.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๖. ประเด็นพูดคุย พิจารณาร่างคณะทำงาน กำหนดแนวทางการประชุมกลุ่มตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ แบบฟอร์ม กำหนดวันประชุมกลุ่ม.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
3.การจัดทำงบประมาณ.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Research Mapping

Research Area แนวทางและการบวนการออกนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในท้องถิ่น ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน เกี่ยวกับการบริการสุขภาพ ด้านการมีส่วนร่วม บทบาทและความสัมพันธ์ขององค์กรต่างๆในระบบสุขภาพภายใต้บริบทการ กระจายอำนาจ เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ ด้านระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง แนวทางและการบวนการออกนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในท้องถิ่น ด้านบริหารจัดการ อื่นๆ กรณีศึกษา good practice

ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน เป็นการศึกษาในมุมมองเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข ความเป็นธรรมระหว่างกลุ่มผู้มีสิทธิต่างๆหรือ ระหว่างพื้นที่ ในด้านการเข้าถึงบริการและอื่นๆ การกระจายทรัพยากรสุขภาพเปรียบเทียบ ระหว่างภาค/จังหวัด/พื้นที่ ฯลฯ

เกี่ยวกับการบริการสุขภาพ ต้นทุนของระบบสุขภาพ ต้นทุนการบริการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู, อื่นๆ รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดระบบบริการสุขภาพในท้องถิ่น ระบบบริการและการส่งต่อผู้ป่วย ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ฯลฯ

เกี่ยวกับบริการสุขภาพ(ต่อ) การบริการส่วนบุคคลที่ทำในชุมชน รูปแบบการเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน ระบบการเฝ้าระวังและการควบคุมโรคภายใต้การ กระจายอำนาจและความรับผิดชอบของท้องถิ่น(อบจ เทศบาล, อบต,) ผลกระทบการกระจายอำนาจต่อการใช้บริการสุขภาพ ของประชาชน ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของการบริหาร จัดการระบบสุขภาพภายใต้ความรับผิดชอบของท้องถิ่น

ด้านการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชน และองค์กรภาคี ต่างๆต่อการ จัดทำแผนงานโครงการด้านสุขภาพ หรือโครงการที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพ การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการ บริหารจัดการและการจัดบริการสุขภาพ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการ ดำเนินงานของอปท.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยบริการใน สังกัด บทบาทและความสัมพันธ์ขององค์กรต่างๆในระบบสุขภาพภายใต้บริบทการกระจายอำนาจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยบริการใน สังกัด หน่วยบริการ หน่วยงานด้านบริหารของสธ. เช่น สสจ. สสอ. หน่วยงานด้านวิชาการเช่นกรมต่างๆ เป็นต้น หน่วยบริการในสังกัดอื่นๆ

เกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ ศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหาร จัดการระบบบริการสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น การปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้สอดคล้องกับการ กระจายอำนาจ

ด้านระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบที่ล้าสมัยให้สอดคล้องกับ บริบทที่เปลี่ยนไป กรอบแนวทาง รูปแบบ และกระบวนการในการออก ระเบียบหรือข้อบัญญัติของท้องถิ่นในเรื่องที่เกี่ยวกับ สุขภาพอนามัยของประชาชน บทบาทของสถาบันการศึกษากับการพัฒนาศักยภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แนวทางและการบวนการออกนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในท้องถิ่น

ด้านบริหารจัดการ ธรรมาภิบาลในระบบสุขภาพท้องถิ่น ประสิทธิภาพ ต้นทุน นวัตกรรมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระบบสุขภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวในการจัดบริการสุขภาพ ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพและด้านบริหารจัดการระบบสุขภาพ สำหรับการบริหารงานสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น

อื่นๆ กรณีศึกษา good practice