หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
Sulperazon.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
การเขียนรายงานการวิจัย
ความสอดคล้องของผลทดสอบความไวต่อยาวัณโรคจากห้องปฏิบัติการระดับประเทศ 2 แห่ง (รายงานเบื้องต้น) อดุล เขียวเล็ก* แวฟาอูวยียะ ยามิน* เพชรวรรณ พึ่งรัศมี* ทวีพร.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเขียนรายงานการวิจัย
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
แนวคิดในการทำวิจัย.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
LOGO ศึกษาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศของบุคลากร ในวิทยาลัยเทคนิคหนองคาย A study to used information technology of personnel at Nongkhai.
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การแก้ไขปัญหา การขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ ซี 9
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี ในโรงพยาบาลพุทธชินราช A11 ธีรพันธ์ ใจบุญ นพเ ก้า คงตาล วุฒิเดช นุ่มเนตร

หลักการและเหตุผล โรคไข้เลือดออกเดงกีเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย มักเกิดในเด็ก และมีแนวโน้มจะพบมากขึ้นในผู้ใหญ่จัดเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ดังนั้นการศึกษาการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีใน รพ.พุทธชินราชว่าเป็นไปตามแนวทางการรักษาของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่นั้นก็จะประโยชน์ต่อผู้ป่วยและแพทย์ในการรักษาผู้ป่วย

วัตถุประสงค์ คำถามการวิจัย คำถามหลัก 1. เพื่อประเมินวิธีการรักษาว่าเป็นไปตาม Guideline หรือไม่ คำถามการวิจัย คำถามหลัก การรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเป็นไปตาม Guideline หรือไม่

คำถามรอง 2. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบบ่อยในช่วงอายุใด 1. จำนวนวันเฉลี่ยที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในแต่ละกลุ่มเป็นเท่าใด 2. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบบ่อยในช่วงอายุใด 3. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบ grade ใดมากที่สุด 4. ขั้นตอนใดที่ไม่ปฏิบัติตาม Guideline มากที่สุด

วิธีดำเนินการวิจัย วิธีการศึกษา กลุ่มที่ทำการศึกษา Descriptive retrospective study กลุ่มที่ทำการศึกษา ผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีช่วงอายุ 0-15 ปี เดือนมิถุนายนจำนวน 68 คน เดือนกรกฎาคมจำนวน 58 คน เดือนสิงหาคม 100 คนเดือนกันยายนจำนวน 72 คน รวม 298 คน โดยไม่รวมผู้ป่วยที่มีUnderlying disease ซึ่งมีจำนวน 10 คน

นำGuideline ของกระทรวงสาธารณสุขไปตรวจสอบผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา การดำเนินงาน นำGuideline ของกระทรวงสาธารณสุขไปตรวจสอบผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา ที่มาของ Guideline โครงการพัฒนาวิชาและเทคโนโลยีเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเฉลิมพระเกียรติ ปี2542

คำนิยาม 1. การรักษาผู้ป่วยตาม Guideline คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาครบตามแนวทางทุกขั้นตอน 2. DHF DHF grade I, II, III, IV

การวิเคราะห์ ใช้ Program epi info version 6

ผลการวิจัย

วิจารณ์ 1. เครื่องมือในการตรวจสอบ 2. Sample size 3. เวลาในการวิจัย 1. เครื่องมือในการตรวจสอบ 2. Sample size 3. เวลาในการวิจัย 4. ไม่มีจำนวนผู้ป่วยตาย

สรุป 1. ขั้นตอนที่ไม่ปฏิบัติตามมากที่สุดคือ การเริ่มต้นการให้ rate IV fluid 5 cc/kg/hr 2. ขั้นตอนที่ปฏิบัติตามมากที่สุดคือการวัด vital sign และ serial Hct 3. จำนวนวันเฉลี่ยที่นอนรักษาในแต่ละเกรดไม่แตกต่างกันมากนัก 4. ผู้ป่วยที่รักษาตรงตามแนวปฏิบัติจะมีจำนวนวันเฉลี่ยที่นอนโรง พยาบาลน้อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่รักษา่ตรงตาม Guideline 5. การรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีจะตรงตาม Guideline มากขึ้นเมื่อ เกรดของโรคไข้เลือดออกเดงกีเพิ่มขึ้น 6. จากการศึกษาไม่พบเสียชีวิต

ข้อเสนอแนะ ควรทำการวินิจฉัยแบบ Prospective study ซึ่งจะทำให้ได้ข้อมูลที่ดีกว่า และทำให้ทราบถึงปัญหา เนื่องจากการวิจัยแบบเชิงพรรณนาย้อนหลังค่อนข้างมีข้อจำกัดในการประเมินว่าการรักษาเป็นไปตาม Guideline หรือไม่ เนื่องจากไม่ทราบถึงสภาวะของผู้ป่วยที่เป็นอยู่ ซึ่งจะมีผลต่อการรักษา ดังนั้นควรทำการวิจัยแบบ Prospective study เพื่อลดตัวแปรกวนดังกล่าว

กิตติกรรมประกาศ รศ.นพ.ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย รศ.นพ.ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ รพ.พุทธชินราช อ.นพ.วิโรจน์ กิจจาวิจิตร

จบการนำเสนอ