หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี ในโรงพยาบาลพุทธชินราช A11 ธีรพันธ์ ใจบุญ นพเ ก้า คงตาล วุฒิเดช นุ่มเนตร
หลักการและเหตุผล โรคไข้เลือดออกเดงกีเป็นโรคที่พบบ่อยในประเทศไทย มักเกิดในเด็ก และมีแนวโน้มจะพบมากขึ้นในผู้ใหญ่จัดเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ดังนั้นการศึกษาการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีใน รพ.พุทธชินราชว่าเป็นไปตามแนวทางการรักษาของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่นั้นก็จะประโยชน์ต่อผู้ป่วยและแพทย์ในการรักษาผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ คำถามการวิจัย คำถามหลัก 1. เพื่อประเมินวิธีการรักษาว่าเป็นไปตาม Guideline หรือไม่ คำถามการวิจัย คำถามหลัก การรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเป็นไปตาม Guideline หรือไม่
คำถามรอง 2. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบบ่อยในช่วงอายุใด 1. จำนวนวันเฉลี่ยที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในแต่ละกลุ่มเป็นเท่าใด 2. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบบ่อยในช่วงอายุใด 3. ผู้ป่วยไข้เลือดออกพบ grade ใดมากที่สุด 4. ขั้นตอนใดที่ไม่ปฏิบัติตาม Guideline มากที่สุด
วิธีดำเนินการวิจัย วิธีการศึกษา กลุ่มที่ทำการศึกษา Descriptive retrospective study กลุ่มที่ทำการศึกษา ผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีช่วงอายุ 0-15 ปี เดือนมิถุนายนจำนวน 68 คน เดือนกรกฎาคมจำนวน 58 คน เดือนสิงหาคม 100 คนเดือนกันยายนจำนวน 72 คน รวม 298 คน โดยไม่รวมผู้ป่วยที่มีUnderlying disease ซึ่งมีจำนวน 10 คน
นำGuideline ของกระทรวงสาธารณสุขไปตรวจสอบผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา การดำเนินงาน นำGuideline ของกระทรวงสาธารณสุขไปตรวจสอบผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา ที่มาของ Guideline โครงการพัฒนาวิชาและเทคโนโลยีเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเฉลิมพระเกียรติ ปี2542
คำนิยาม 1. การรักษาผู้ป่วยตาม Guideline คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาครบตามแนวทางทุกขั้นตอน 2. DHF DHF grade I, II, III, IV
การวิเคราะห์ ใช้ Program epi info version 6
ผลการวิจัย
วิจารณ์ 1. เครื่องมือในการตรวจสอบ 2. Sample size 3. เวลาในการวิจัย 1. เครื่องมือในการตรวจสอบ 2. Sample size 3. เวลาในการวิจัย 4. ไม่มีจำนวนผู้ป่วยตาย
สรุป 1. ขั้นตอนที่ไม่ปฏิบัติตามมากที่สุดคือ การเริ่มต้นการให้ rate IV fluid 5 cc/kg/hr 2. ขั้นตอนที่ปฏิบัติตามมากที่สุดคือการวัด vital sign และ serial Hct 3. จำนวนวันเฉลี่ยที่นอนรักษาในแต่ละเกรดไม่แตกต่างกันมากนัก 4. ผู้ป่วยที่รักษาตรงตามแนวปฏิบัติจะมีจำนวนวันเฉลี่ยที่นอนโรง พยาบาลน้อยกว่าผู้ป่วยที่ไม่รักษา่ตรงตาม Guideline 5. การรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกีจะตรงตาม Guideline มากขึ้นเมื่อ เกรดของโรคไข้เลือดออกเดงกีเพิ่มขึ้น 6. จากการศึกษาไม่พบเสียชีวิต
ข้อเสนอแนะ ควรทำการวินิจฉัยแบบ Prospective study ซึ่งจะทำให้ได้ข้อมูลที่ดีกว่า และทำให้ทราบถึงปัญหา เนื่องจากการวิจัยแบบเชิงพรรณนาย้อนหลังค่อนข้างมีข้อจำกัดในการประเมินว่าการรักษาเป็นไปตาม Guideline หรือไม่ เนื่องจากไม่ทราบถึงสภาวะของผู้ป่วยที่เป็นอยู่ ซึ่งจะมีผลต่อการรักษา ดังนั้นควรทำการวิจัยแบบ Prospective study เพื่อลดตัวแปรกวนดังกล่าว
กิตติกรรมประกาศ รศ.นพ.ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย รศ.นพ.ศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ รพ.พุทธชินราช อ.นพ.วิโรจน์ กิจจาวิจิตร
จบการนำเสนอ