การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ บทที่ 14 การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ธรรมชาติการพัฒนาระบบ การพัฒนาระบบเป็นการดำเนินการเพื่อการปรับปรุงระบบเดิมและ เป็นการสร้างระบบใหม่ ๆ ขึ้นมาด้วย ประกอบด้วย 1. บทบาทของผู้บริหารและผู้ใช้ในการพัฒนาระบบ ( The role of managers and user in systems development ) 2. วัฐจักรของการพัฒนาระบบ [ Systems development life cycle ( SDLC ) ]
ธรรมชาติการพัฒนาระบบ ( ต่อ ) ปัญหาของระบบปัจจุบัน อาจประกอบด้วยดังนี้ 1. ไม่ตอบสนองกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ 2. ไม่สนองตอบความต้องการของผู้ใช้ 3. มีระบบการควบคุมที่ไม่เพียงพอ 4. ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ที่ซับซ้อน ยากต่อการบำรุงรักษา 5. มีข้อผิดพลาดในการออกแบบและให้ผลลัพธ์ที่ผิดพลาดบ่อยครั้ง 6. ขาดเอกสารประกอบ เช่น คู่มือการใช้งาน 7. ยากต่อการใช้งาน
ธรรมชาติการพัฒนาระบบ ( ต่อ ) ปัจจัยที่ทำให้การพัฒนาระบบประสบผลสำเร็จ 1. การมีส่วนเกี่ยวข้องของผู้ใช้ระบบตลอดทั้งกิจกรรมการพัฒนาระบบ 2. มีการนำเอาการจัดโครงการมาช่วยในการวางแผนการดำเนินการ 3. มีการพัฒนาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับการออกแบบระบบ 4. การออกแบบซอฟต์แวร์และการทดสอบได้ดำเนินการอย่างรอบคอบ 5. เอกสารและคู่มือสำหรับระบบใหม่ได้จัดทำโดยละเอียด 6. การติดตั้งระบบและการอบรมผู้ใช้ได้มีการวางแผนอย่างดี 7. การตรวจสอบระบบหลังการจัดการดำเนินการ 8. ระบบได้ถูกออกแบบในลักษณะที่ง่ายต่อการดูแลรักษา
แนวทางในการพัฒนาระบบ วิธีการพัฒนาระบบมี 3 แบบ คือ 1. การศึกษาแบบดั้งเดิม กิจกรรมในแต่ละขั้นตอนจำเป็นต้องทำตาม ลำดับอย่างเคร่งครัด วิธีการนี้ยากต่อผู้ใช้ในการกำหนดหาความ ต้องการล่วงหน้าได้ 2. การศึกษาแบบการทำต้นแบบ เป็นเพียงระบนำร่องผู้ใช้จะทำงาน ร่วมกับต้นแบบปฏิกิรอยาตอบกลับจากผู้ใช้จะเป็นประโยชน์ต่อนัก วิเคราะห็ระบบในการขัดเกลาให้ดียิ่งขึ้น 3. การศึกษาแบบพัฒนาระบบด้วยตัวผู้ใช้เอง ผู้ใช้จะเป็นผู้เลือกระบบ เอง ซึ่งอาจเลือกแบบดั้งเดิมหรือแบบการทำต้นแบบก็ได้
ทีมงานด้านการพัฒนาระบบ กลุ่มคนสำคัญในแผนก MIS เป็นผู้ทำหน้าที่ทบทวน ไตร่ตรองแผนงาน MIS และการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้และผู้จัดการได้รับความพึงพอใจใน ความต้องการด้านสารสนเทศ โดยนักวิเคราะห์ระบบจะถูก กำหนดแต่งตั้ง และนักวิเคราะห์ระบบจะต้องขอความเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟต์แวร์
การสำรวจเบื้องต้น 1. การประเมินความเป็นไปได้ 2. ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ 1. การประเมินความเป็นไปได้ 2. ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ 3. ความต่อเนื่องระหว่างปัญหาและโอกาส 4. การกำหนดปริมาณหรือขนาดความมุ่งมั่นการพัฒนา 5. การระบุทางเลือก/ตัวเลือกที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ 6. การประมาณการต้นทุนกับผลประโยชน์ 7. การรายงานผลต่อฝ่ายจัดการ
การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นการมุ่งเน้นการกำหนดความต้องการของผู้ใช้ การประเมิน จุดแข็ง จุดอ่อน ของวิธีการทำงาน และรายงานต่อฝ่ายบริหาร 1. การประเมินความต้องการ ( Assessing needs ) 2. การวิเคราะห์ ( Analysis ) 3. การประเมินผลกระทบเชิงกลยุทธ์ ( Assessing strategic impact )
การจัดทำเอกสาร การจัดทำเอกสาร หมายถึง ข้อความ/คำสั่งที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ การปฏิบัติงาน และการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย 1. การจัดทำเอกสารโครงการ ( Project documentation ) 2. การจัดทำเอกสารสำหรับระบบ ( System documentation ) 3. การจัดทำเอกสารโปรแกรม ( Program documentation ) 4. การจัดทำเอกสารนักเขียนโปรแกรม ( Programmer documentation )