วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา EDUCATIONAL MEDIA CENTER ADMINISTRATION 468 302
งานบริการและกิจกรรม ของศูนย์บริการสื่อการสอน เรื่อง... งานบริการและกิจกรรม ของศูนย์บริการสื่อการสอน
ผู้สอน... ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา จึงประสิทธิ์ ผู้สอน... ผู้ช่วยศาสตราจารย์วนิดา จึงประสิทธิ์
ศูนย์บริการสื่อการสอน มีหน้าที่หลักในการบริการและที่เกี่ยวข้องกับการบริการตลอดจนกิจกรรมทางวิชาการ 6 อย่าง การจัดหาสื่อการสอนเพื่อบริการ การบริการสื่อการสอน การบำรุงรักษาสื่อการสอน การประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมทางวิชาการ การประเมินผล
การจัดหาสื่อการสอน(Acquisition) ขั้นตอนในการจัดหา ขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาพของสื่อการสอนในสถานศึก ขั้นตอนที่ 2 สำรวจสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities)ในการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ขั้นตอนที่ 3 สำรวจความต้องการทางสื่อการสอน
ขั้นตอนที่ 4 จัดหาสื่อการสอน ขั้นตอนที่ 4 จัดหาสื่อการสอน วิธีการจัดหาสื่อการสอน มี 4 วิธีใหญ่ๆคือ 1. การผลิต 2. การจัดซื้อ 3. การขอบริจาค 4. การขอยืม จะขอกล่าวแยกแต่ละวิธีดังนี้
การผลิตสื่อการสอน การผลิตสื่อขึ้นใช้เองมีผลดีคือ เป็นการประหยัดงบประมาณสื่อฯ สามารถผลิตสื่อได้ตรงตามผู้ใช้มากที่สุด สื่อบางชนิดไม่มีขายตามท้องตลาด
ขีดความสามารถในการผลิตสื่อการสอนของศูนย์บริการสื่อการสอน มี 2 ลักษณะคือ ศูนย์บริการมีความสามารถในการผลิตสื่อการสอนได้ทั้งหมด ศูนย์บริการจึงเป็นศูนย์ขนาดใหญ่ที่มีบุคลากรค่อนข้างพร้อมในสายงานต่างๆ เช่น มีช่างภาพ ช่างอิเล็คโทรนิกส์ ศูนย์บริการมีขีดจำกัดในการผลิตสื่อ
การจัดซื้อ ต้องพิจารณาตามลำดับความสำคัญและความต้องการของผู้ใช้
การประเมินค่าสื่อ ลักษณะของการประเมินค่า -การประเมินค่ามี 2 ลักษณะคือ การประเมินค่าภายนอก การประเมินค่าภายใน
เกณฑ์การประเมินค่าเครื่องมือโสตทัศนะโดยทั่วๆไป ความคงทน ( Ruggedness ) ความสะดวกในการใช้งาน ( Ease of operation ) ความกระทัดรัด ( Portability ) คุณภาพของเครื่อง (Quality of performance ) การออกแบบ ( Design )
6. ความปลอดภัย ( Safety ) 7. ความสะดวกในการบำรุงรักษาและซ่อมแซม ( Ease of Maintenance and Repair ) 8. ราคา ( Cost ) 9. ชื่อเสียงของบริษัทผุ้ผลิต ( Repulation of Manufacturer ) 10.การบริการซ่อม ( Available Services )
เกณฑ์ในการเลือกเครื่องมือเฉพาะอย่าง เครื่องฉายภาพยนต์ เวลาเดินเครื่อง เสียงจากมอเตอร์ พัดลม เครื่องส่งฟิล์มควรจะเงียบ ขณะฉายภาพ ควรจะนิ่ง ระบบการควบคุม ควรมีเพียงพอต่อการใช้งาน เช่น การปรับระดับเสียง ตั้งแต่ความดัง และความทุ้มแหลม เป็นต้น
เครื่องฉายสไลด์ การทรงตัว ไม่เอียงข้างใดข้างหนึ่ง แม้จะปรับระยะชัดจนกระบอกเลนส์ยาวออกมามากที่สุดแล้วก็ตาม อุปกรณ์ในการปรับระยะเครื่อง เพื่อให้เงยหรือตะแคงจะต้องปรับได้ง่าย มีระบบระบายความร้อนของหลอดฉาย ส่วนใหญ่จะมีพัดลมตัวเล็กๆอยู่ภายในเครื่อง เพื่อเป่าหลอดฉายให้เย็น หลอดฉายควรเป็นชนิดทนความร้อน
4. ตัวเครื่องมีเสียงรบกวนน้อย เช่น เสียงพัดลมในขณะใช้งานไม่ดังเกินไป
เครื่องฉายสไลด์ และ ฟิล์มสตริปในเครื่องเดียวกัน ส่วนถอดเปลี่ยนประกบฟิล์ม จากสไลด์เป็นฟิล์มสตริปจะต้องถอดเปลี่ยนได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ระบบอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องเดินฟิล์มสตริปอัตโนมัติ เครื่องบังคับปรับระยะ อัตโนมัติ ทำให้สะดวกต่อการใช้งานและจำเป็นที่จะต้องมีระบบต่างๆนี้ มากน้อยเพียงไร ควรเลือกเครื่องที่มีปรับเฟรมของภาพ ให้ใช้ได้ทั้งฟิล์มสตริป ชนิด Signle frame และ Double frame
4. ปุ่มปรับระดับเครื่อง ใช้ได้สะดวก 5. มีระบบการระบายความร้อน 6. การกระจายของแสงจากหลอดฉายต้องสม่ำเสมอบนจอ (ควรให้ภาพมีขนาดใหญ่ บนจอในขณะทดลอง )
เครื่องบันทึกเสียง หัวเทปควรอยู่ตำแหน่งที่ทำความสะอาดได้ง่าย ปุ่มควบคุมต่างๆต้องสังเกตเห็นได้ชัดเจนใช้ง่าย และควรมีสัญลักษณ์บอกไว้ว่าปุ่มไหนทำหน้าที่อะไร มาตราฐานคุณภาพของเสียง พิจารณาจากการตอบสนองความถี่ของเสียงว่าอยู่ในช่วงที่เราต้องการเพียงใด
เครื่องเล่นแผ่นเสียง 1. ใช้งานได้กว้างขวางเพียงไร เช่น มีที่เสียบไมโครโฟนสำหรับใช้เป็นเครื่องขยายเสียงได้หรือไม่ มีลำโพงพิเศษหรือไม่ อัตราความเร็วมีกี่อัตรา เป็นต้น เกณฑ์อื่นๆเหมือนเครื่องบันทึกเสียง