พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

บทบาทผู้นำสหกรณ์ยุคใหม่ ผู้อำนวยการสถาบันอนาคตศึกษาเพื่อการพัฒนา
Technology Application
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
Information System Project Management
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
วิธีการทางสุขศึกษา.
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษา การฝึกอบรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
( Organization Behaviors )
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ( Human Resource Development )
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
LEARNING ORGANIZATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
LEADERSHIP.
การจัดการศึกษาในชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
การจูงใจ (Motivation)
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์ผู้เรียน
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
(Organizational Behaviors)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
มาตรฐานการควบคุมภายใน
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
Change Management.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

761 313 พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior ) ความแตกต่างและพฤติกรรมการทำงานของบุคคล

ความแตกต่างระหว่างบุคคล ( Individual Differences ) มีความสำคัญต่อการศึกษาการจัดการพฤติกรรมองค์การ เนื่องจากทุกองค์การต่างประกอบด้วยสมาชิกที่ต่างก็มีเอกลักษณ์ส่วนบุคคล และการแสดงพฤติกรรมของเขาในองค์การ โดยการศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล จะต้องทำความเข้าใจพฤติกรรมในการทำงานของบุคคล

วิธีการศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล ศึกษาจากกรอบความคิด ASA 1. ความน่าสนใจ ( Attraction ) 2. การคัดเลือก ( Selection ) 3. การออกจากงาน ( Attrition )

ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการทำงาน ( Work Behavior ) หมายถึงพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมาในสภาพแวดล้อมในการทำงาน ซึ่งอาจจะมีลักษณะเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ โดยอาจจะเป็นประโยชน์หรือเป็นโทษแก่องค์การ โดยผู้บริหารสามารถสังเกตและวิเคราะห์พฤติกรรมปฏิบัติงานของบุคคลจากตัวแปร 2 กลุ่ม คือ

1. ตัวแปรระดับบุคคล 1.1 ปัจจัยทางประชากร 1.2 ความสามารถและทักษะ 1.3 การรับรู้ 1.4 ทัศนคติ 1.5 บุคลิกภาพ

2. ตัวแปรระดับองค์การ 2.1 ทรัพยากร 2.2 ภาวะผู้นำ 2.3 รางวัล 2.4 โครงสร้าง 2.5 การออกแบบงาน

การเรียนรู้ การเสริมแรง และการให้รางวัล การเรียนรู้ การเสริมแรง และการให้รางวัล นอกจากจะเข้าใจความแตกต่างระบุคคลแล้ว ผู้บริหารจะต้องเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องของการเรียนรู้ การเสริมแรงและการให้รางวัล เพื่อที่จะสามารถกระตุ้น และส่งเสริมให้บุคลากรและพฤติกรรมที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อองค์การ ตลอดจนควบคุม แก้ไข และหยุดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ

การเรียนรู้ ( Learning ) เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างจะถาวร ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่รับเข้ามาในชีวิต โดยบุคคลจะเรียนรู้ทั้งอย่างเป็นทางการและจากประสบการณ์ที่สั่งสม

การเสริมแรง ( Reinforcement ) เป็นการส่งเสริมหรือเพิ่มโอกาสให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่องค์การต้องการ โดยใช้ตัวเสริมแรง การเสริมแรงมี 4 ประเภท 1. การเสริมแรงทางบวก ( Positive Reinforcement ) 2. การเสริมแรงทางลบ ( Negative Reinforcement ) 3. การลงโทษ ( Punishment ) 4. การกำจัด ( Extinction )

การให้รางวัล ( Reward ) ผู้บริหารอาจจะให้รางวัลที่เป็นผลตอบแทนที่บุคคลเห็นว่ามีคุณค่า ซึ่งผู้บริหารต้องใช้ให้เหมาะสมไม่พร่ำเพรื่อ รางวัลแบ่งเป็น 2 รูปแบบ 1. รางวัลภายใน ( Intrinsic Rewards ) 2. รางวัลภายนอก ( Extrinsic Rewards )