Engineering Graphics II [WEEK5]

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำหนักแสงเงา.
Advertisements

การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Engineering Graphics II [WEEK4]
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
Basic Graphics by uddee
ช่วงความชัดลึกของภาพ ภาพจะมีช่วงความชัดลึกมากหรือ น้อยขึ้นอยู่กับเหตุผล 3 ประการ คือ.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
Application of Graph Theory
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ระบบกลไก.
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
เลื่อยมือ hack saw.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
Mold Design # 2 ส่วนประกอบของแม่พิมพ์
THREAD PLUG GAUGE, THREAD RING GAUGE
ช่างเทคนิคโตโยต้า>>นัตและโบลท์
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
Symbol & Instance.
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
เครื่องมือวัดและตรวจสอบ
พีระมิด.
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลเบื้องต้น
เริ่มต้น Photoshop CS5.
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
ยูเรนัส (Uranus).
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
ประเภทของมดน่ารู้.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
ทรงกลม.
โลกและสัณฐานของโลก.
การเขียนภาพประกอบ(Assembly Draw.)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Engineering Graphics II [WEEK5] การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว การแสดงการยึดชิ้นงานใน Solid Work

การยึดต่อด้วยสลักเกลียว

การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวอาจทำได้โดยหลายวิธี คือ 1. Bolt and Nut 2. Cap Screw/Set Screw 3. Stud

การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว การยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียวจะอาศัยหลักการกดชิ้นงานไม่ให้แยกออกจากกันด้วยการขันตึง

Bolt and Nut รูปทรงของหัว Bolt และ Nut อาจมีได้ในหลายลักษณะขึ้นกับวัตถุประสงค์การใช้งาน ลักษณะที่พบเสมอคือ Bolt และ Nut ที่มีหัวหกเหลี่ยม(Hexagon) และ สี่เหลี่ยม(Square)

Cap Screw โดยทั่วไปจะใช้งานสำหรับการยึดจับชิ้นงานที่ต้องการความแม่นยำสูง ลักษณะหัวของ Cap Screw

Set Screw ใช้งานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเคลื่อนที่ระหว่างชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เช่น ใช้ Set Screw เพื่อไม่ให้มู่เล่เคลื่อนที่ตามเพลาหมุน เป็นต้น ลักษณะหัวของ Set Screw

สลักเกลียวยึดชิ้นงานอื่นๆ

มิติเกลียว Major diameter (d) = เส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดของเกลียว Minor diameter(dr ) = เส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กสุดของเกลียว Mean diameter = เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของเกลียว Pitch(P) = ระยะที่วัดจากสันเกลียวหนึ่งถึงสันเกลียวถัดไป Major diameter Minor diameter Mean diameter Pitch Root Crest Thread angle Root = รากเกลียว Crest = ยอดเกลียว Thread angle = มุมเกลียว

มิติเกลียว Lead (L) = ระยะที่ nut เคลื่อนที่ตามแนวแกนของเกลียวเมื่อ nut หมุนครบ 1 รอบ

ประเภทเกลียว Single threads คือ เกลียวที่มีระยะที่ Nut หมุนเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ เท่ากับ ระยะจากสันเกลียวหนึ่งถึงสันเกลียวถัดไป Lead(L) = Pitch(P) Multiple Thread Double - Thread (L = 2P) Triple - Thread (L = 3P)

มาตรฐานเกลียว เกลียวเมตริก (Metric thread) เกลียวยูนิไฟล (Unified thread) แบ่งตามความละเอียดของเกลียว เช่นกันคือ เกลียวหยาบ (Coarse - Pitch Series) , เกลียวละเอียด (Fine - Pitch Series)

มาตรฐานเกลียวยูนิไฟล เกลียวยูนิไฟล อาจแบ่งตามลักษณะของโคนฟันเป็น 2 แบบ คือ 1. UN คือ เกลียวที่มีโคนฟันแบนราบ 2. UNR คือ เกลียวที่โคนฟันโค้ง r UNR Threads UN Threads

มาตรฐานเกลียวยูนิไฟล 1. Nominal major diameter 2. จำนวนเกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว 3. ชนิดเกลียว (Thread series) หมายถึง เกลียวที่มี d = 5/8 นิ้ว จำนวนเกลียว 18 เกลียวต่อความยาว 1 นิ้ว และเป็นชนิด UNR ชนิดละเอียด(F) 18 UNR F

มาตรฐานเกลียวเมตริก มีรูปร่างเช่นเดียวกับเกลียว ยูนิไฟล แตกต่างกับเกลียวยูนิไฟล คือเกลียวชนิดนี้ใช้หน่วย มิลลิเมตร แทนที่จะเป็นหน่วยนิ้ว เกลียวเมตริก แบ่งประเภทตามลักษณะของเกลียวเป็น 2 ประเภท คือ 1. M Profiles คือ เกลียวทำมุมเอียง 60 องศา 2. MJ Profiles คือ ที่รากเกลียว(Root) มีลักษณะโค้งมน

มาตรฐานเกลียวเมตริก การระบุเกลียวเมตริกทำได้โดย 1. บ่งบอกว่าเป็นเกลียวเมตริก M 12 x 1.75 2. Major diameter 3. ระยะพิท หมายถึง เกลียวเมตริกที่มีขนาด Major Diameter 12 mm ระยะพิท 1.75 mm

รูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว รูเจาะสำหรับการจับยึดชิ้นงานมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกที่มีปลายเป็นรูปกรวยทำมุมประมาณ 30 องศากับแนวระดับ

รูเจาะสำหรับการยึดชิ้นงานด้วยสลักเกลียว ความลึกรูเจาะจะประกอบด้วย ความยาวในส่วนที่มีเกลียว และ ความยาวในส่วนไม่มีเกลียว ขนาดของรูเจาะจะต้องยึดตามมาตรฐานของ screw ที่ใช้

โปรแกรม SolidWorks การยึดต่อด้วยสลักเกลียว

เริ่มต้นการยึดด้วยสลักเกลียวด้วย SolidWorks สลักเกลียวชนิดต่างๆ ในโปรแกรม SolidWork จะถูกรวมอยู่ใน Toolbox ดังนั้นในการเริ่มใช้งานจึงควรทำการ enable toolbox ก่อน Tool -> Add-Ins -> เลือก SolidWork Toolbox -> เลือก SolidWork Toolbox Browser

เริ่มต้นการยึดด้วยสลักเกลียวด้วย SolidWorks ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลภายใต้มาตรฐานต่างๆ จะถูกรวมอยู่ใน Design Liberary -> Toolbox

ใช้ Hold Wizard สำหรับรูเจาะสลักเกลียว การเจาะรูตามมาตรฐาน สามารถกำหนดโดยใช้ Hole Wizard Features -> Hole -> Wizard

การกำหนดเงื่อนไข เราสามารถเปลี่ยนข้อกำหนดของ Bolt และ Nut ได้หรือชิ้นส่วนเครื่องจักรกลอื่นที่เรียกจาก Toolbox ได้โดยการใช้คำสั่ง Edit Toolbox definition

การยึดชิ้นงานจำนวนมากอย่างอัตโนมัติ กรณีทำการยึดชิ้นงานจำนวนมากอย่างอัตโนมัติเราสามารถทำได้โดยใช้ Smart Fasteners Browser Smart Fastener Browser เริ่มต้นจากการกำหนดมาตรฐานรูเจาะก่อน เพื่อให้ชนิดของสลักเกลียวมีความสัมพันธ์กับรูเจาะ Toolbox -> Browser Configuration -> Smart Fasteners

การกำหนดรูเจาะบน Smart Fasteners Browser

การเลือกสลักเกลียวอย่างอัตโนมัติ จากนั้นทำการเลือก Smart Fasteners เราสามารถเลือกรูเจาะตามที่เราต้องการ หรือเลือกรูเจาะทั้งหมดโดย Populate All ได้ เมื่อเราเลือกรูเจาะเสร็จแล้วจะปรากฎสลักเกลียวชนิดต่างที่สอดคล้องกับชนิดรูเจาะที่รูเจาะที่เราเลือกนั้น

การใส่แหวน(Washer) และแป้นเกลียว(NUT) การใส่ Nut ทำได้โดยการ Edit Smart Fasteners จากนั้นเลือก Bottom stack หรือ Top stack ตามต้องการ และทำการเลือก Nut ที่สอดคล้องกับ Bolt และ รูเจาะ

การเปลี่ยนชนิดของชิ้นงานจับยึด เรายังคงสามารถเปลี่ยนชนิดของ fastener ได้โดย Edit Smart Fastener -> เลือก Fastener -> Change Fastener Type

การแสดงการประกอบชิ้นงาน สามารถแสดงได้เช่นเดียวกับ Assembly ทั่วไป