KM = Knowledge Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้บริหารในฝัน.
Advertisements

การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Knowledge Management (KM)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
Best Practice.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ความหมายของเครือข่าย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
โครงการพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง Talent Management
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Participation : Road to Success
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน (สกอ.)
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
การใช้ KM ขับเคลื่อนในการทำงานที่น่าน
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การทำงานเป็นทีม Teamwork
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
โครงการ พัฒนางาน 5 ส ภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากรสู่องค์กรแห่ง ความสุข.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การจัดการองค์ความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

KM = Knowledge Management

KM คือ การรวบรวมความรู้ที่กระจัดกระจาย มาพัฒนาให้ เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กร สามารถเข้าถึงความรู้ และ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมถึงปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันส่งผลให้องค์กรมีความเข้มแข็งมั่นคง และเป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือสูงสุด

เป้าหมายของ KM เพื่อการพัฒนา 3 ด้าน คือ 1.พัฒนางาน 2.พัฒนาคน 3.พัฒนาองค์กร

องค์ประกอบของการจัดการองค์ความรู้ 1.คน = นำความรู้ไปก่อเกิดประโยชน์ 2.it = เป็นเครื่องมือในการสืบค้น แลกเปลี่ยน ที่รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ 3.กระบวนการ = การบริหารจัดการ 1 + 2

หัวใจของการจัดการองค์ความรู้ คือการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคนด้วยกัน จุดหมายปลายทางมิใช่ความรู้แต่อยู่ที่การนำไปปฏิบัติ ผู้ที่มีบทบาทที่สุดที่ทำให้ KM ประสบความสำเร็จ คือ CAN 1.C= CEO (ผู้บริหาร) เห็นคุณค่า ผลักดัน เพื่อให้เกิด KM อย่างแท้จริงและจริงจัง ชัดเจน 2.A= ACTIVITY ผู้ปฏิบัติ เป็นผู้ดำเนินกิจกรรม เพื่อก่อให้เกิด ความรู้ที่แท้จริง 3.N= Network Manager ผู้ประสานงานเชื่อมโยงในทุกๆฝ่ายเพื่อให้ เกิด KM อย่างมีประสิทธิภาพ

อย่าทำ เพียงให้ได้ชื่อว่าทำ อย่าทำ เพราะถูกบังคับตามข้อกำหนด แต่ควรทำ เพราะ เกิดแรงจูงใจ ที่จะพัฒนา คน งาน และองค์กร ซึ่งหลักการจัดองค์ความรู้ที่ดี ควรเริ่มต้น ด้วย 1.จัดทีมริเริ่มดำเนินการ 2.ฝึกอบรมโดยการปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 3.การจัดระบบอย่างถูกต้อง