Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
VBScript.
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Department of Computer Business
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Functional programming part II
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมแบบ Structured Programming และการจัดการตรวจสอบข้อผิดพลาด.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Chapter 4 การสร้าง Application
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 7 Flash 8 ActionScripts.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Selection Nattapong Songneam.
หลักการทำ Animation แบบง่ายๆ
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
บทที่ 5 เทคนิคการสร้างแอพพลิเคชัน
Variables and Data Types กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Problem Analysis and Algorithm (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิด)
คำสั่งในการ ทำงานเบื้องต้น ของโปรแกรม. คำสั่งประกาศตัวแปร ชนิดของข้อมูล ชื่อตัวแปรที่ 1, ชื่อตัวแปรที่ 2; ตัวอย่าง Double score, total;
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น

Properties Properties คือ คุณลักษณะหรือองค์ประกอบต่าง ๆ ของคอนโทรล เช่น ชื่อ ,ขนาด, สีพื้นหลัง, ลักษณะตัวอักษร, ข้อความบนคอนโทรลนั้น โดย Properties ของคอนโทรล นั้นจะถูกแสดงไว้ที่ Properties Window

Properties Window

Properties : Name Properties Name เป็นชื่อที่ใช้ในการ อ้างอิงถึงคอนโทรล ในการเขียนโปรแกรม ซึ่งเมื่อเรานำคอนโทรล มาวางบนฟอร์ม โปรแกรมจะกำหนดชื่อไว้ล่วงหน้า โดยนำ ชื่อชนิดของคอนโทรลมาต่อท้ายด้วยตัวเลข ที่ไม่ซ้ำกัน เช่น Button1, Button2, …….. แต่ชื่อจะไม่สื่อความหมาย แต่ต้องไม่ซ้ำกับ ชื่อคอนโทรลอื่นๆ ที่อยู่บนฟอร์ม

Properties : Text เช่น การกำหนดข้อความบนปุ่ม

Properties : BackColor และ ForeColor

Properties : Font คอนโทรล โดยสามารถกำหนด ชนิดตัวอักษร ขนาด รูปแบบ

การเขียนโปรแกรมเพื่อตอบสนองต่ออีเวนต์ อีเวนต์ (Event) คือเหตุการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นกับ Object เช่น การโหลด การคลิกเมาส์หรือการกดแป้นพิมพ์ อีเวนต์มีหลายรูปแบบ โดยคอนโทรลแต่ละชนิดสามารถเลือกอีเวนต์ ได้มากกว่า 1 อย่าง

ตัวจัดการอีเวนต์ (Event) ขั้นตอนการเขียนโค้ดโปรแกรมเพื่อกำหนดวิธีการกระทำเมื่อเกิดอีเวนต์ หรือเรียกว่าการตอบสนองต่ออีเวนต์นั้น ใน VB จะเขียนในรูปแบบที่เรียกว่า ซับโปรซีเยอร์ (Sub Procedure) ดังตัวอย่าง

ตัวจัดการอีเวนต์ (Event) Private Sub ชื่อโพรซีเยอร์ (พารามิเตอร์) Handles ชื่อคอนโทรล.ชื่ออีเวนต์ End Sub Private Sub เป็นคีย์เวิร์ดที่เราต้องระบุเสมอเพื่อแสดงว่าเป็นโพรซีเยอร์ ชื่อโพรซีเยอร์ โดยจะนำ ชื่อคอนโทรล (Properties Name) มาเชื่อมต่อ เข้ากับชื่ออีเวนต์ที่เกิดขึ้น แล้วเชื่อมด้วยเครื่องหมาย _ เช่น Button1_Click พารามิเตอร์ เป็นการรับข้อมูลเข้ามาในโพรซีเยอร์ โดยพารามิเตอร์สำหรับคอนโทรลทั่วไป คือ (ByVal sender As System.Object, ByVal e As System.EventArgs)

ตัวจัดการอีเวนต์ (Event) Handles เป็นคีย์เวิร์ดที่ต้องระบุเสมอ เพื่อบอกว่าโพรซีเยอร์นี้ ใช้จัดการอีเวนต์ที่เกิดขึ้นกับคอนโทรลใด ชื่อคอนโทรล.ชื่ออีเวนต์ เป็นข้อกำหนดที่สำคัญเพื่อบ่งชี้ว่า โพรซีเยอร์นี้ใช้จัดการอีเวนต์ที่เกิดขึ้นกับคอนโทรลใด End Sub ใช้แสดงจุดสิ้นสุดโพรซีเยอร์

ข้อมูลและตัวแปร ชนิดของข้อมูล การใช้งานตัวแปร และค่าคงที่ ที่ใช้กับ Visual Basic ไม่ว่าโปรแกรมประยุกต์ใด ภาษาใด สิ่งที่ต้องรู้เป็นอันดับแรกๆ ก็คือ ตัวแปร ค่าคงที่และ ชนิดของข้อมูล ของภาษานั้น ๆ ซึ่งจะทำให้เห็นข้อจำกัดต่างๆ ในภาษานั้น ๆ ทำให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพราะตัวแปรและค่าคงที่ถือได้ว่าเป็นตัวแทนของข้อมูล ที่จะต้องนำไปใช้งาน ประมวลผล และแสดงสิ่งที่ได้จากการประมวลผล

ชนิดของข้อมูล ชนิดข้อมูล รายละเอียด หน่วยความจำ Boolean เก็บค่าทางตรรกะที่ได้มี 2 ค่า คือ true (จริง), false (เท็จ) 2 Bytes Byte เก็บค่าเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ 0-255 1 Byte Currency ใช้เก็บตัวเลขจำนวนจริง มีค่าระหว่าง - 922,337,203,685,477.5808 ถึง 922,337,203,685,477.5807 8 Bytes Date ใช้สำหรับเก็บวันที่และเวลา Double ใช้เก็บตัวเลขจำนวนจริง แยกเป็น 2 กรณี คือ ค่าบวกอยู่ระหว่าง 4.94065645841247E-324 ถึง 1.79769313486232E308 ค่าลบอยู่ระหว่าง - 1.79769313486232E308 ถึง -4.94065645841247E-324 Integer เก็บค่าเลขจำนวนเต็มที่มีค่าระหว่าง -32768 ถึง 32767 String ใช้เก็บตัวอักษร ข้อความ และตัวเลข 1 ตัว/1 ไบต์

การประกาศค่าตัวแปร (Variable Declaration) รูปแบบคำสั่งการประกาศตัวแปรของ Visual Basic Dim varname As datatypes Dim คือ คำสั่ง (statements) สำหรับประกาศตัวแปร varname ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศ As ส่วนที่บอกให้ Visual Basic ทราบว่าต้องการกำหนดชนิดของข้อมูล datatypes ชนิดของข้อมูลที่ Visual Basic สนับสนุน

กฎการตั้งชื่อตัวแปรและค่าคงที่ 1. ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเท่านั้น 2. ความยาวของชื่อที่ตั้งสูงสุดไม่เกิน 255 ตัวอักษร 3. ชื่อที่ตั้ง ต้องไม่ซ้ำกันคำสงวน (Keywords) คำสั่ง (Statements) ฟังก์ชัน (Functions) หรืออื่น ๆ ที่ Visual Basic กำหนดไว้ 4. ห้ามตั้งชื่อซ้ำกันในโพรซีเดอร์เดียวกัน หรือในขอบเขตเดียวกัน 5. ห้ามใช้เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์, ตัวดำเนินการ (Operators) หรือ เครื่องหมายพิเศษ เช่น @, # มาตั้งชื่อ 6. ห้ามมีช่องว่างในชื่อตัวแปรถ้าต้องการเว้นว่างให้ใช้เครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น