Periodic Table.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมบัติของสารและการจำแนก
(Structure of the Earth)
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
พันธะเคมี Chemical bonding.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
พลังงานไอออไนเซชัน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Johann Dobereiner Johann Dobereiner จัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ โดยนำธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
การเกิดผลึกและสเตอริโอไอโซเมอร์ในเทอร์โมพลาสติก
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
คุณสมบัติการหารลงตัว
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
การแจกแจงปกติ.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
เซอร์โคเนียม Zirconium (Zr).
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
สังกะสี แคดเมียม.
แทนทาลัม และ ไนโอเบียม.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ดาวพลูโต (Pluto).
การจัดธาตุเป็นหมวดหมู่
พันธะเคมี.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
ธาตุและสารประกอบ จัดทำโดย เด็กหญิงสุปราณี เทียนทอง
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
มลภาวะ (pollution).
Periodic Table ตารางธาตุ.
ตารางธาตุ Periodic Table.
ตารางธาตุ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Periodic Table

1834-1907 Dimitri Mendeleev Dmitri Ivanovich Mendeleev ได้เสนอการจัดตารางธาตุออกมาในลักษณะคล้าย ๆ กัน โดยพบว่าสมบัติต่าง ๆ ของธาตุสัมพันธ์กับมวลอะตอมของธาตุ ตาม Periodic Law คือ “ สมบัติของธาตุเป็นไปตามมวลอะตอมของธาตุโดยเปลี่ยนแปลงเป็นช่วง ๆ ตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น”

เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) 1834-1907 Dimitri Mendeleev ตาราง เปรียบเทียบสมบัติของธาตุเอคาซิลิคอนกับเจอร์เมเนียมที่ทำนายและที่ค้นพบ สมบัติ เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) เจอร์เมเนียมพบเมื่อ พ.ศ. 2429 (ค.ศ.1886) มวลอะตอม สีของธาตุ ความหนาแน่น (g/cm3) จุดหลอมเหลว (0C ) สูตรของออกไซด์ ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3) เมื่อผสมกับกรดไฮโดรคลอริก 72 เป็นโลหะสีเทา 5.5 สูง GeO2 4.7 ละลายได้เล็กน้อย 72.6 5.36 958 4.70 ไม่ละลายที่ 25 0C

1887-1915 Henry Moseley Henry Moseley ได้จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก ดังนั้นในปัจจุบัน Periodic Law มีความหมายว่า “สมบัติต่าง ๆ ของธาตุจะขึ้นอยู่กับเลขอะตอมของธาตุนั้น และขึ้นอยู่กับการจัดอิเล็กตรอนของธาตุเหล่านั้น” He was able to derive the relationship between x-ray frequency and number of protons

ตารางธาตุในปัจจุบัน

Periodic Classification of the Elements ตัวอย่างที่ 1 จงเติมข้อความต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ เลขอะตอม โครงแบบอิเล็กตรอน คาบที่ หมู่ที่ สัญลักษณ์ธาตุ 8 _________________ _____ _____ __________ 36 _________________ _____ _____ __________ 42 _________________ _____ _____ __________ 50 _________________ _____ _____ __________

ตารางเปรียบเทียบสมบัติของโลหะและอโลหะ สมบัติของอโลหะ มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณภูมิห้อง ยกเว้น ปรอทที่เป็นของเหลว เมื่อขัดจะมีความมันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดี แต่การนำไฟฟ้าจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เคาะจะมีเสียงกังวาน แข็งและเหนียวสามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ ที่อุณหภูมิห้องมีได้ทุกสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เมื่อขัดจะไม่มีความมันวาว ไม่นำไฟฟ้าและไม่นำความร้อน ยกเว้นบางตัว เช่น แกร์ไฟต์นำไฟฟ้าได้ เคาะจะไม่มีเสียงกังวาน ส่วนมากเปราะไม่สามารถจะทำให้เป็นแผ่นหรือเป็นเส้นได้ 7

ตารางเปรียบเทียบสมบัติของโลหะและอโลหะ สมบัติของอโลหะ มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง มีความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะสูง เป็นพวกชอบให้อิเล็กตรอน ทำให้เกิดเป็นไอออนบวก เกิดเป็นสารประกอบ เช่น ออกไซด์ คลอไรด์ ซัลไฟด์และไฮไดร์ได้ ส่วนใหญ่จะทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางให้ก๊าชไฮโดรเจน ส่วนมากมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ ส่วนมากมีความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะต่ำ เป็นพวกชอบรับอิเล็กตรอน ทำให้เกิดเป็นไอออนลบ เกิดเป็นสารประกอบ เช่น ออกไซด์ คลอไรด์ ซัลไฟด์และไฮไดร์ได้ ไม่ทำปฏิกิริยากับกรดเจือจาง 8

Group 1A Elements

Group 2A Elements

Group 3A Elements B เป็นกึ่งโลหะ

Group 4A Elements

ตัวอย่างออกไซด์: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10 Group 5A Elements Bismuth(Bi) Antimony(Sb) Arsenic(As) ตัวอย่างออกไซด์: N2O, NO2, N2O4, N2O5, P4O6, P4O10

ตัวอย่างออกไซด์: SO2, SO3 Group 6A Elements Oxygen (O) Polonium (Po) Sulphur (S) Selenium (Se) Tellurium(Te) ตัวอย่างออกไซด์: SO2, SO3 SO3(s) + H2O(l) H2SO4(aq)

Group 7A Elements

Group 8A Elements

ก๊าซเฉื่อย ก๊าซเฉื่อยหรือก๊าซมีตระกูล ( inert gas or noble gas) หมายถึง ธาตุที่ไม่ทำปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆ ซึ่งมีทั้งหมด 6 ธาตุ ตือ He, Ne, Ar, Kr, Xe และ Rn * ก๊าซเฉื่อย 1 อะตอม เท่ากับ 1 โมเลกุล * ปนอยู่กับอากาศประมาณร้อยละ 1 โดยปริมาตร พบว่ามี Ar อยู่มากที่สุดคือประมาณร้อยละ 96.6 ของก๊าซเฉื่อยทั้งหมด

Diatomic Elements

ธาตุกึ่งโลหะ 13 14 15 16 17 B Boron C Carbon N Nitrogen O Oxygen F Fluorine Al Aluminium Si Silicon P Phosphorus S Sulfur Cl Chlorine Ga Gallium Ge Germanium As Arsenic Se Selenium Br Bromine In Indium Sn Tin Sb Antimony Te Tellurium I Iodine Tl Thallium Pb Lead Bi Bismuth Po Polonium At Astatine

ธาตุกึ่งโลหะ (Metalloids) ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติบางประการคล้ายโลหะ และมีสมบัติบางประการคล้ายอโลหะ ได้แก่ B (โบรอน) Si (ซิลิกอน) Ge (เจอร์เมเนียม) As (อาร์เซนิก) Sb (แอนติโมนี) Te (เทลลูเรียม) Po (โพโลเนียม) At (แอสทาทีน) 25

ธาตุแทรนซิชัน (Transition elememts) IIIB IVB VB VIB VIIB VIIIB IB IIB 18

สีของสารประกอบของธาตุแทรนซิชัน 24