โครงสร้างภาษาซี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Computer Language.
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
Introduction to C Programming
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
ภาษาคอมพิวเตอร์.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 10 Files System
Arrays.
ฟังก์ชันการแก้ไขข้อมูลประวัติกำลังพล จากคำสั่งเกี่ยวกับ สูญเสีย
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
C Programming Lecture no. 6: Function.
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
C language W.lilakiatsakun.
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ที่เมนู Start - All Programs - TURBO C++ V4.5 และ TURBO C++
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
introduction to Computer Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างภาษาซี

#include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก Preprocessor Directive การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ variable declaration; การประกาศค่าตัวแปรแบบ Gobal main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก variable declaration; การประกาศค่าชนิดตัวแปรแบบ Local program statement; ส่วนคำสั่ง } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน จบโปรแกรม #include<stdio.h> การกำหนดเฮดเดอร์ไฟล์ main() ฟังก์ชันหลัก { เครื่องหมายการเริ่มต้นฟังก์ชันหลัก char name[15]; การประกาศค่าชนิดตัวแปร printf(“What your name”); scanf(“%s”,&name); } เครื่องหมายสิ้นสุดฟังก์ชัน ส่วนของคำสั่ง

ส่วนหัว Header <.h> Header Flie มาใช้งาน เช่น คือ ส่วนที่เรียกคำสั่งมาประมวลผล  (preprocessor statement) โดยส่วนที่เรียกคำสั่งนี้ จะเขียนขึ้นต้นด้วย เครื่องหมาย # #include เป็นตัวที่เรียกอ่านคำสั่ง จาก <.h> Header Flie มาใช้งาน เช่น #include <stdio.h> include จะเรียกคำสั่งจาก แฟ้ม stdio.h มาร่วมใช้งาน เป็นไฟล์ที่ เก็บ ฟังก์ชั่นต่างๆ

Header flie หรือ .h เปรียบเสมือน เป็นตู้เสื้อผ้า ที่แบ่งเป็นหมวดๆ ชุดนักเรียน ชุดนอน ชุดใส่เล่น ฯลฯ แฟ้มที่มีการเรียกใช้งานที่สุดคือ <stdio.h> (standard input output) เก็บฟังก์ชันประเภท ด้านการรับข้อมูลและแสดงผลเช่น printf scanf เป็นต้น

ฟังก์ชั่นที่อยู่ในส่วนของ Header ไฟล์ นอกจากฟังก์ชั่น <Stdio.h>ในส่วนของHeader flie แล้ว ยังมีฟังก์ชั่นอืนที่ควรต้องรู้ไว้เช่นกันคือ 1.<Conio.h> เป็นชุดฟังก์ชั่นเกี่ยวกับการจัดการหน้าจอและแป้นพิมพ์ เช่น ฟังก์ชั่น getch() คือ ให้คอมพิวเตอร์หยุดรอการพิมพ์หนึ่งครั้ง 2. math.h เป็นชุดฟังก์ชันรวบรวมการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น ฟังก์ชั่น pow () เป็นฟังก์ชันยกกำลัง รูปแบบ pow (เลขฐาน,เลขชี้กำลัง);

ส่วนของตัวโปรแกรม (Main Function) ภาษาซีจะเริ่มต้นการทำงาน ที่ function ที่ชื่อ main วิธีการเขียน function main สามารถเขียนได้หลายวิธี void main(void)‏ int main(void)‏ void หรือ int ที่อยู่หน้า main เป็นตัวกำหนดการคืนค่าหลังจากโปรแกรมทำงานจบ ถ้าเป็น int โปรแกรมต้องมีการคืนค่าด้วยคำสั่ง return หรือ exit เช่น return 0; หรือ exit(1);

ไวยากรณ์ของภาษาซี ไวยากรณ์ของภาษาซีไม่ความซับซ้อนกำกวม แต่ห้ามเขียนผิดแม้แต่นิดเดียว ภาษาซีมีการเขียนอยู่ในรูปแบบของบล็อก (Block) ที่เริ่มด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด {“ และจบด้วยเครื่องหมาย ปีกกาปิด ”} ทุกคำสั่งที่ไม่ได้ตามด้วยบล็อกจำเป็นต้องมีเครื่องหมายเซมิโคลอน ; ปิดท้ายเสมอ ยกเว้นในส่วนของ Preprocessor directive ควรจำไว้ว่าชื่อของฟังก์ชันทั้งหมดในภาษาซีจะเป็นตัวเล็กทั้งหมด

ขั้นตอนการใช้งาน 1. เมื่อเข้าสู่โหมดการทำงานของภาษาซี กด Esc เพื่อเข้าสู่โหมดการเลือกใช้คำสั่ง หรือกด F10

2. การสร้างไฟล์ใหม่ให้เลือกเมนู File New โดยโปรแกรม จะกำหนดชื่อเบื้องต้นเป็น Noname.c

3. การบันทึกให้เลือกเมนู File  Save หรือกดคีย์ลัด F2 ในกรณีที่บันทึกไฟล์ครั้งแรก ไฟล์ที่บันทึกได้จะมี Format (รูปแบบ นามสกุล) เป็น .C

4. การเปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไขให้เลือกเมนู File  Load หรือกดคีย์ลัด F3 แล้วเลือกไฟล์ที่ต้องการแก้ไข

5. การเปลี่ยนชื่อไฟล์ เลือกเมนู File  Write to ในกรณีที่ต้องการบันทึกชื่อไฟล์ใหม่ หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์

6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code ( 6. การ Compile เพื่อแปล Source Code ให้เป็น Object Code (.OBJ) โดยเลือกเมนู Compile Compile หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9

7. หากเกิด error ให้กด F6 เพื่อเข้าสู่โหมดการแก้ไข

8. ถ้า Compile ผ่าน จะปรากฏข้อความ ให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อทำงานต่อไป

9. การสร้าง .EXE เพื่อนำไปใช้งานให้เลือก Make EXE file

10. การรันโปรแกรม ให้เลือกเมนู Run Run หรือกดคีย์ลัด Ctrl+F9

12. แสดงผลการ Run โปรแกรม เมื่อเลือกเมนู Run  User Screen หรือกดปุ่มคีย์ลัด Alt+F5

END WEEK 3