อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
ครอบคลุมพื้นที่ 33 จังหวัด 20 โรงงาน จังหวัด..จัดการ..อย่างไร
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
ความหมายของวิทยาศาสตร์
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การวางแผนการผลิต และการบริการ
Demand in Health Sector
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทฤษฎีการผลิต.
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 6 การตลาดทางตรงโดย สื่อไปรษณีย์และโทรศัพท์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/27 อุปทาน (Supply) อุปทาน หมายถึง “จำนวนสินค้า และบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ธุรกิจจะนำ ออกขายในตลาดแห่งหนึ่ง ณ ระดับราคา ต่าง ๆ กัน ในระยะเวลาที่กำหนดให้”

กฎของอุปทาน (Low of supply) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/31 กฎของอุปทาน (Low of supply) “ถ้าสิ่งอื่น ๆ อยู่คงที่ จำนวนขายสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับ ราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ”

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ปัจจัย หนังสือหน้า 22 เลขหน้า 2/28 ปัจจัยกำหนดอุปทาน 1) ระดับราคาสินค้าในตลาด (price : Px) 2) ต้นทุนการผลิต (cost : C) 3) สภาพดินฟ้าอากาศ (W) 4) ราคาของสินค้าและบริการอื่น ๆ ( Py) 6) เทคโนโลยี (technology : T)

Qx ปริมาณขายซื้อสินค้าและบริการ (อุปทาน) ปัจจัย Qx ปริมาณขายซื้อสินค้าและบริการ (อุปทาน) อุปทานมาก อุปทานน้อย Px ราคาสินค้า C ต้นทุนการผลิต W สภาพดินฟ้าอากาศ Py ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง T เทคโนโลยี

ฟังก์ชันอุปทาน (supply function) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/29 ฟังก์ชันอุปทาน (supply function)

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/32 ตารางอุปทาน คือ ตารางตัวเลขที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างราคากับปริมาณเสนอขายสินค้า หรือบริการใดๆ ที่ผู้ต้องการขาย ในเวลา ขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน

ตารางอุปทาน และเส้นอุปทาน อุปทานของผู้ขายที่มีต่อนมใน 1 สัปดาห์ ราคา (P) (บาท/ลิตร) ปริมาณ (Q) (ลิตร/สัปดาห์) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 P Q

เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ราคา (P) ปริมาณ (Q) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 20 14 เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 8

ตารางที่ 2 ตารางอุปทานในการขายสมุดของโรงงาน A ราคา (บาท/เล่ม) จำนวนขายสมุด (เล่ม/เดือน) 1 2 3 4 5 300 600 900 1,200 1,300 เส้นอุปทานในการขาย สมุดของโรงงาน A

การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้าย เส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied) การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายอันเนื่องมาจาก ปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มี ผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่

1 การเปลี่ยนแปลงจำนวนขาย 1 การเปลี่ยนแปลงจำนวนขาย S ราคาสูงขึ้น จะทำให้จำนวนเสนอขายเพิ่มขึ้น โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS(จาก Aไป B) ราคาลดลง จะทำให้จำนวนเสนอขายลดลง โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS (จาก A ไป C)

การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย เดิม P = 15  Q = 12 ใหม่ P = 25  Q = 16 ใหม่ P = 5  Q = 8 12 15 A 16 8 B C เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง 25 5 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25

การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้าย เส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve) ปัจจัยที่กำหนดอุปทานโดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณขาย เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่ง จะมีผลทำให้เส้นอุปทานเดิมเลื่อนไปทั้งเส้น

อุปทานเพิ่ม P Q 10 5 15 20 25 S1 12 18 S2

อุปทานลด 12 7 P Q 10 5 15 20 25 S1 S2

การเปลี่ยนแปลงอุปทานสำหรับรองเท้า กรณีที่มีการใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ ราคา (บาท/คู่) จำนวนขายรองเท้า (คู่/เดือน) ในกรณีที่มีการใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ แบบเก่า (ไม่ใช้เทคโนโลยี) (S ) แบบปัจจุบัน (S) ใหม่ล่าสุด (S ) 10 20 30 40 50 150 200 300 100 400 250 350 450 2 1

2 การเปลี่ยนแปลงอุปทาน 2 การเปลี่ยนแปลงอุปทาน เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย  • T  • C  • Py  • W (อำนวย) เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย  • T  • C  • Py  • W (ไม่อำนวย) 2 2

จงตอบคำถามต่อไปนี้ อุปทาน มีความหมายอย่างไร ในปีที่เกิดภาวะฝนแล้ง อุปทานของสินค้าเกษตรจะเป็นอย่างไร ผู้ผลิตแต่ละรายจะผลิตสินค้าออกขายมากขึ้นเมื่อใด จงเขียนฟังก์ชั่นของอุปทาน ปัจจัยใดที่เป็นตัวกำหนดทั้งอุปสงค์และอุปทาน ปัจจัยใดที่ทำให้ปริมาณการเสนอขายสินค้า X เปลี่ยนแปลงอยู่บนเส้นอุปทานเส้นเดิม สาเหตุใดที่ทำให้เส้นอุปทานเปลี่ยนแปลงไปทางซ้ายของเส้นเดิม ถ้าต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น เส้นอุปทานจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย ถ้าราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องสูงขึ้น เส้นอุปทานจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย