บทที่ 2 องค์การและการจัดการ
องค์การ(Organization) ลักษณะเป็นโครงสร้างของสังคม ความหมายขององค์กร องค์การ(Organization) มีความหมาย 2 ลักษณะ ดังนี้ ลักษณะเป็นโครงสร้างของสังคม ลักษณะเป็นหน่วยงานเพื่อประกอบกิจกรรม
โครงสร้างของสังคมได้เป็น 4 ประเภท องค์กรของรัฐ องค์กรธุรกิจ องค์กรรัฐวิสาหกิจ องค์กรอาสาสมัคร
เป็นกฎหมายแม่บทที่กฎหมายอื่นจะมีบทบัญญัติขัดหรือแย้งมิได้ การจัดตั้งองค์กร รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศไทย เป็นกฎหมายแม่บทที่กฎหมายอื่นจะมีบทบัญญัติขัดหรือแย้งมิได้
ที่จัดระเบียบบริหารภายในประเทศ กฎหมายปกครอง ที่จัดระเบียบบริหารภายในประเทศ กฎหมายมหาชน เป็นความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับประชาชน
กฎหมายแพ่ง กฎมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิหน้าที่และคุณสมบัติของบุคคล นับตั้งแต่เกิดจนตาย กฎมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับผู้ประกอบการ เป็นที่มาของ องค์กรธุรกิจที่เกิดขึ้นและดำเนินไปตามวิธี
องค์กร ของรัฐ องค์กร ของรัฐ องค์กร เอกชน องค์กร เอกชน กฎหมายระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน องค์กร ของรัฐ องค์กร ของรัฐ กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ องค์กร เอกชน องค์กร เอกชน
องค์กรของรัฐและองค์กรธุรกิจ แบ่งตามข้อบังคับกฎหมาย 2 ฉบับ ได้แก่ 1.กฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เป็นกฎหมายที่กำหนดในเรื่ององค์กรของรัฐ 2.ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่กำหนดในเรื่ององค์กรธุรกิจของเอกชน รวมถึงรัฐวิสาหกิจ
ที่มาขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ เป็นการดำเนินกิจการค้าทางธุรกิจ โดยแสวงหากำไรซึ่งดำเนินงานโดยเอกชนจัดตั้งขึ้น แนวทางดำเนินงานด้านธุรกิจได้มีการปรับเปลี่ยนแนว ทางการบริหารไปอย่างรวดเร็วเนื่องจากกิจการมีการ แข่งขันกันมากขึ้น
ลักษณะขององค์กรที่ดี 1. มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน 2. มีการกำหนดสายบังคับบัญชาที่สั้นและหลากหลาย 3. มีระบบฐานข้อมูลที่ดี 4. มีรับการจัดการที่ดี 5. มีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ 6. คนในองค์กรมีความเสียสละ
ลักษณะการจัดองค์กรธุรกิจ 1. ความรู้ความสามารถอยู่ที่งานและผลงานที่ทำ 2. โครงสร้างการปฏิบัติงานเป็นไปในแนวนอน 3. เน้นความสำเร็จของงานที่ทำมาก 4. ความขัดแย้งในองค์กรแก้ไขโดยกลุ่มบุคคล 5. รูปแบบการจัดการเปลี่ยนไปตามสถานการณ์และ สิ่งแวดล้อม
บทบาทขององค์กรธุรกิจ ปัจจุบันองค์กรธุรกิจมีสถาบันหลายสถาบัน เช่น 1.สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประกอบด้วย 5 สถาบัน หอการค้าไทย หอการค้าต่างประเทศ สมาคมการค้า รัฐวิสาหกิจ สหกรณ์
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีบทบาทหน้าที่สำคัญ คือ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของ ผู้ประกอบการทางอุตสาหกรรมทั้งภายในและภายนอก ประเทศในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ ต่อภาคอุตสาหกรรม เช่น ด้านการตลาด เทคโนโลยี การผลิต การพัฒนาแรงงาน การส่งเสริมการลงทุน
การจัดหน่วยงานเพื่อบริหารองค์กรธุรกิจ การจัดตั้งหน่วยงานจะมีรูปแบบขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ ดังนี้ ประเภทของธุรกิจ ขนาดขององค์กร ภาวะเศรษฐกิจ การขยายกิจการหรือเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ขององค์กร อิทธิพลภายนอกหรือภายในองค์กร วิสัยทัศน์ของผู้บริหารองค์กร
สรุปบทที่2 การจัดตั้งองค์กรหรือการบริหารงานบุคลากรทุกคนต้องมีความร่วมมือร่วมใจกันในการทำงาน เพื่อจะทำให้ธุรกิจที่ดำเนินการมีความสำเร็จ และลุล่วงไปได้ด้วยดี และประสบความสำเร็จตรงตามที่ได้รับมอบหมายไว้