บทที่ 3 ทรัพยากรดิน
ดิน หมายถึง วัตถุที่ทับถมปกคลุมเป็นชั้นบางๆส่วน ดิน หมายถึง วัตถุที่ทับถมปกคลุมเป็นชั้นบางๆส่วน ใหญ่อยู่บนพื้นผิวเปลือกโลก ประกอบด้วยอินทรีย์วัตถุปะ ปะปนกันในสภาพของแข็ง ของเหลว และก๊าซผสมผสานกัน
ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ 511,269.63 ตารางกิโลเมตร(320.7ล้านไร่) ลักษณะดินในประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ประมาณ 511,269.63 ตารางกิโลเมตร(320.7ล้านไร่) มีการแบ่งเป็น 6 ภาค มีพื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 152 ล้านไร่ คิดเป็น ร้อยละ 48 ของพื้นที่ทั้งหมดมีการปรับปรุงพื้นที่รกร้างว่างเปล่า มาทำการเกษตร เช่น ปรับปรุงดินพรุ ที่จ.นราธิวาส ดินที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จึงทำให้มีพื้นที่เกษตรมากขึ้น ตามมาตรฐาน ของนักอนุรักษ์วิทยา แต่ละประเทศควรมีดินเพื่อการเกษตรไม่ควรเกินร้อยละ 35 ของประเทศก็เพียงพอแล้ว
ความสำคัญของดินต่อสิ่งมีชีวิต - เป็นแหล่งกำเนิดของแร่ธาตุต่าง ๆ - ใช้การก่อสร้าง ผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ เซรามิกส์ - มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต - เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด
ส่วนประกอบของดิน 1. อินทรียวัตถุ ประกอบด้วยซากพืช ซากสัตว์ มีประมาณร้อยละ 5 2. อนินทรีย์วัตถุ ประกอบด้วยแร่ธาตุต่างๆ มีประมาณร้อยละ 45
ชนิดของดิน แบ่งตามอนุภาคของเม็ดดินได้ 3 ชนิด คือ 1 ชนิดของดิน แบ่งตามอนุภาคของเม็ดดินได้ 3 ชนิด คือ 1. ดินทราย เป็นดินที่มีเนื้อดินหยาบ 2. ดินเหนียว เป็นดินที่มีเนื้อละเอียด 3. ดินร่วน เป็นดินที่มีเนื้อค่อนข้างละเอียด
ประโยชน์ของดิน 1. เป็นแหล่งปัจจัย 4 ของมนุษย์ 2. เป็นแหล่งอาหารของพืช 3. เป็นแหล่งอาหารของสัตว์ 4. เป็นที่หลบภัยและแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า 5. เป็นแหล่งกักเก็บน้ำ
อยู่กับที่หรือถูกพัดพาไป หินแข็ง ผุพังสลายตัว วัตถุต้นกำเนิดดิน อยู่กับที่หรือถูกพัดพาไป อินทรีย์วัตถุ ผุพังสลายตัว ดิน
องค์ประกอบของดิน มีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 อย่าง คือ องค์ประกอบของดิน มีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 อย่าง คือ 1. แร่ธาตุ 2. อินทรีย์วัตถุ 3. น้ำ 4. อากาศ
ธาตุที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ธาตุหลัก เป็นธาตุที่กลุ่มพืชมีความต้องการปริมาณมากสามารถแบ่งเป็น 2 จำพวก คือ แร่ธาตุหลักปฐมภูมิ เป็นธาตุที่พืชต้องการมากที่สุดซึ่งต้องเติมในดินเสมอ เนื่องจากดินมักขาดแคลน มี 3 ธาตุ ได้แก่
ธาตุไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทเซียม( K) หรือธาตุ N, P, K
ธาตุอาหารหลักทุติยภูมิ เป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการมา แต่น้อยกว่าธาตุ N P K มี 6 ธาตุ ได้แก่ คาร์บอน ออกซิเจน ไฮโดรเจน แคลเซี่ยม แมกนีเซียม และ กำมะถัน ซึ่งธาตุเหล่านี้เป็นธาตุที่มักจะไม่ขาดแคลนในดิน และมักจะปนอยู่ในดินที่ใส่เพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืช
ธาตุอาหารรอง เป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณที่น้อยแต่ขาดไม่ได้ มีทั้งหมด 7 ธาตุ สามารถแบ่งได้ 2 จำพวก - ธาตุอาหารรองประจุบวก ได้แก่ พวกโลหะ มี 4 ธาตุ ได้แก่ ธาตุเหล็ก แมงกานีส สังกะสี และทองแดง - ธาตุอาหารประจุลบ มี 3 ธาตุ ได้แก่ คลอลีน โบรอน และโมลิบดินัม
แร่ธาตุที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช 1. ไนโตรเจนในรูปของไนเตรต 2. ฟอสฟอรัส 3. โปแทสเซียม 4. แคลเซียม 5. กำมะถัน 6. เหล็ก 7. แมกนีเซียม 8. คาร์บอน
2. อินทรีย์วัตถุ คือ การสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ โดยการย่อยของจุลินทรีย์ เกิดการทับถม เน่าเปื่อย อินทรีย์วัตถุจะมีในดินที่เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช ประมาณร้อยละ 5
พระองค์ทรงให้ความสำคัญกับทรัพยากรดินเป็นอย่างยิ่ง
แบบทดสอบเก็บคะแนน 1. การอนุรักษ์ดินทำได้โดยวิธีการใดบ้าง อธิบาย 1. การอนุรักษ์ดินทำได้โดยวิธีการใดบ้าง อธิบาย 2. สาเหตุที่ทำให้ทรัพยากรดินเกิดการเปลี่ยนแปลงมาจากสาเหตุใดบ้างจงอธิบาย 3. ปัญหาเรื่องดินในประเทศไทยอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์มีอะไรบ้าง 4. โครงการพระราชดำริในการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรมีการแบ่งสัดส่วนดินเพื่อการเพาะปลูกอย่างไรบ้าง จงอธิบาย 5. โครงการปลูกหญ้าแฝกของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวช่วยในการแก้ไขปัญหาดินถูกชะล้างหน้าดินได้อย่างไร
แบบทดสอบเก็บคะแนน 1. จงบอกประโยชน์ของทรัพยากรดิน 2. จงบอกถึงแร่ธาตุที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช พร้อมทั้งระบุถึงคุณสมบัติของแร่ธาตุนั้น ๆ ที่มีต่อพืช 3. ปัญหาเรื่องดินในประเทศไทยอันเกิดจากการกระทำของมนุษย์มีอะไรบ้าง 4. ดินแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 5. จงบอกถึงหลักการและแนวทางในการอนุรักษ์ดิน