คำกริยา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ความสุขเปรียบเหมือนผีเสื้อ
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
พระวาจาของพระเจ้าบอกว่า
เรื่อง น่าคิด.
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
เรื่อง คำสรรพนาม.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ปลา กับ นกกระยาง.
พ่อกับลูก ท่ามกลางหิมะ อันเหน็บหนาว สิ่งที่ปกป้องความเย็นให้กับลูกน้อย
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
ใครคือฉัน? ฉันคือใคร?.
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำวิเศษณ์.
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
เพลงพื้นบ้านในภูมิภาคตะวันตก
คำกริยา.
คำสรรพนาม.
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
คำนาม.
นำเสนอหนังสือวิชาการ
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
พ่อไก่.
ตอนที่ ๒ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ข้อแนะนำ วันหนึ่ง ฉันขอคำแนะนำจากพระ เจ้า ว่าจะดำเนินชีวิตในโลกนี้อย่างไร.
บันทึกช่วยจำของ “เหลียงจี้จาง” (คุ้มค่าสำหรับการอ่านบทความนี้)
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๑ รวมพลังค้นหาคำ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
Mr.Boonsorn Pratomwong
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
  หมาขี้เรือน.
การผดุงครรภ์ไทย.
สื่อ CAI เรื่อง คำนาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมานำเสนอ เกมส์บุพบท
บทที่ ๙ สนุกสนานกับการเล่น.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
การรู้สัจธรรมของชีวิต
ซอฟแวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวจุติภรณ์ ชาญเชี่ยว คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 รหัสนิสิต
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
1. น้องสาวของฉัน 2. แมวของฉัน 3. หลานชายของฉัน 4. อาหารที่ชอบ 5. วิชาที่ชอบเรียน 6. ความใฝ่ฝัน.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
ประโยคที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น
เรื่อง คำไทยทั้ง 7 ชนิด จัดทำโดย ด.ญ.ทิฐินันท์ พรมโอ๊ด ม1/10 เลขที่ 10
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
โดย เด็กชาย ธัญญวิชญ์ ผลึกมณฑล ป.5/8 เลขที่16
เรื่อง ประโยค.
เรื่องราวเกี่ยวกับนาย นครินทร์ เทินเกษม รหัส สาขา การตลาด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษ
ขอให้เธอลุยต่อๆไป เป็นสิ่งที่ดีที่เธอรู้จักบทบาท ของเธอในชีวิต.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำกริยา

คำกริยา คำกริยา คือ คำแสดงอาการ การกระทำ และบอกสภาพของนามหรือสรรพนาม เพื่อให้รู้ว่านามหรือสรรพนามนั้นๆ ทำอะไรหรือเป็นอย่างไร หากขาดคำกริยาจะสื่อสารกันไม่เข้าใจ คำกริยาจึงเป็นคำสำคัญ ในประโยค ซึ่งอาจจะเป็นคำแสดงอาการคำเดียวหรือเป็นกลุ่มคำ ก็ได้ เช่น เดิน เดินเล่น ร้อง ร้องเรียก ร้องเพลง นั่งร้องเพลง ฯลฯ

ประเภทของคำกริยา แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ประเภทของคำกริยา แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. คำกริยาไม่มีกรรม (อกรรมกริยา) คือ คำกริยาที่มีใจความสมบูรณ์ ไม่ต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เป็นคำที่บอกอาการแล้วผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ทันที เช่น น้องร้องไห้ ไฟดับ

และอาจมีคำขยายกริยาหรือมีคำบุพบทประกอบประโยคก็ได้ เช่น เขาร้องเพลงในสวน เรยาเดินเล่นที่ชายหาด

๑.๒ กริยามีกรรม (สกรรมกริยา) ๑.๒ กริยามีกรรม (สกรรมกริยา) คือ คำกริยาที่มีใจความไม่ครบในตัวเอง ต้องมีกรรมมารับข้างท้ายจึงจะได้ความสมบูรณ์ เช่น - ภารโรงเปิด(หน้าต่าง) - แม่ไป(ตลาด)

สินทุบ(กระจก) แมวกิน(ปลาย่าง)

๑.๓ คำกริยาส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา) คือ กริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ต้องมีคำนามหรือสรรพนามมารับข้างท้ายจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ ได้แก่คำว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่า แปลว่า หมายความว่า เท่ากับ ราวกับ คือ เช่น พ่อของอารีเป็นนายแพทย์ หล่อนคือแม่ฉัน

แมวคล้ายเสือ เธอวางท่าราวกับนางพญา

๑.๔ คำกริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นกริยาที่ ๑.๔ คำกริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นกริยาที่ ไม่สำคัญตัดทิ้งได้โดยไม่ทำให้ประโยคเสียความ กริยาช่วย มีขึ้นเพื่อช่วยขยายกริยาหลักให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เป็นคำที่บอกความรู้สึก การคาดคะเน การขอร้อง บังคับ เช่น คืนนี้ฝนอาจจะตก เราต้องขยันเรียนให้มากกว่าเดิม สายใจกำลังร้องเพลง ลูกควรนอนได้แล้ว มิฉะนั้นพรุ่งนี้จะตื่นสาย ครูคงตีฉัน ถ้าฉันไม่ทำการบ้าน

๒. หน้าที่ของคำกริยา มีดังนี้ ๒.๑ เป็นคำที่แสดงหรือบอกสภาพของประธาน เช่น ไก่จิกข้าวที่ตากบนลาน นกอินทรีบินร่อนบนท้องฟ้า

๒.๒ คำกริยาทำหน้าที่ขยายนาม เช่น ๒.๒ คำกริยาทำหน้าที่ขยายนาม เช่น ยายทำอาหารถวายพระทุกวัน (ทำอาหาร เป็นกริยาสำคัญ ถวาย เป็นกริยาขยายนาม พระ)

- พี่ชวนฉันไปทะเล (ชวน เป็นกริยาสำคัญ ไป เป็นคำกริยาขยายนาม ทะเล)

๒.๓ คำกริยาที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม เช่น ๒.๓ คำกริยาที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม เช่น - พูดดีเป็นศรีแก่ตัว (พูดดี เป็นคำกริยา ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค เหมือนคำนาม) - สูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อชีวิต เป็นพิษต่อคนใกล้เคียง (สูบบุหรี่ เป็นคำกริยา ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค