บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
Advertisements

บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
Product and Price ครั้งที่ 12.
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
ที่มาของเสิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)
ตรายี่ห้อ บรรจุภัณฑ์ และฉลาก
สถาบันคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย
Management Information System of Air Conditioner Store
Gems and Jewelry Electronic Commerce
บทที่ 7 การตลาดออนไลน์ 2 (ต่อ)
อัญมณีและเครื่องประดับ
ระบบตะกร้าและระบบชำระเงิน Shopping Cart + Payment
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
รูปแบบการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 2
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ข้อสอบกลางภาค ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นว่า E-Business และ E-Commerce มีประโยชน์อย่างไรกับนักศึกษาบ้างในปัจจุบันและอนาคต 2 ในกรณีที่นักศึกษาเป็นเจ้าของบริษัทด้านค้าขายและติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ให้กับลูกค้าทั่วไป.
E-Commerce Wigidol Shop
Computer Application in Customer Relationship Management
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
E-Business Transformation and digital strategies
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
บทที่ 13 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
1 บทที่ 3 ออกแบบเพื่อผู้ใช้ Designing for Users. 2 กำหนดเป้าหมายของเว็บ วางตำแหน่งบริษัทของคุณให้เป็นผู้เชี่ยวชาญใน สาขานั้น ให้บริการข้อมูลของสินค้าหรือบริการอย่างสมบูรณ์
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
ชื่อโครงการ การขายสินค้าออนไลน์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
Chapter 4 การตลาด ผ่านโซเชียลมีเดีย
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
การเปิดร้านค้าออนไลน์
ระบบฐานข้อมูล.
บทที่ 5 การค้าปลีก.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
Data Mining การทำเหมืองข้อมูล
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
Chapter VII ทรัพยากรของผู้บริโภค และความรู้. n เพื่อศึกษาถึงประเภทของทรัพยากร ของผู้บริโภค n เพื่อทราบและทำความเข้าใจถึงประเภท ของความรู้ของผู้บริโภค.
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)

2.1 ผู้ค้าปลีก ? ผู้ค้าปลีก หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางการซื้อ-ขายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย เช่นร้านขายของชำ ร้านขายสินค้าเฉพาะอย่าง เป็นต้น ผู้ผลิต ร้านขายส่ง ร้านขายปลีก ร้านขายปลีก ลูกค้า

2.2 แนะนำการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing) หมายถึง การขายสินค้าและบริการให้กับผู้บริโภคผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านคนกลาง หรือตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) ใดๆ โดยส่วนมาก E-Retailing จะมีลักษณะเป็น E-Commerce แบบ B2C

2.2 แนะนำการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทของ E-Retailing 1. Electronic Storefront หมายถึงเว็บไซต์ร้านค้าเสมือน (Virtual Store) เป็นร้านค้าบนเว็บที่ถูกจัดตั้งขึ้นโดยบริษัทใดบริษัทหนึ่งเพื่อขายสินค้าและบริการ โดยดำเนินในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ General Storefront Specialize Storefront

ตัวอย่าง General Storefront

ตัวอย่าง General Storefront

2.2 แนะนำการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทของ E-Retailing 2. Electronic Mall หรือ CyberMall หมายถึงเว็บไซต์ที่รวบรวมเว็บไซต์ต่างๆเข้าไว้ในที่เดียวกัน เปรียบเหมือนกับห้างสรรพสินค้าที่รวบรวมร้านค้าต่างๆไว้ในที่เดียวกัน

ตัวอย่าง Electronic Mall

2.2 แนะนำการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าและบริการที่จะประยุกต์ใช้กับ E-Retailing ควรมีลักษณะที่โดดเด่น ดังนี้ 1. ชื่อ และตรายี่ห้อสินค้าควรจดจำได้ง่าย 2. สินค้าและบริการควรมีการรับประกันคุณภาพและบริการหลังการขาย 3. สินค้าและบริการควรมีมาตรฐานรองรับ 4. สินค้าที่จัดจำหน่ายควรเป็นสินค้าเฉพาะที่ไม่วางขายในท้องตลาดทั่วไป แต่หากเป็นสินค้าที่วางขายในท้องตลาด ราคาก็ควรจะถูกกว่า

2.3 ประโยชน์ของ E-Retailing ประหยัดเวลา ประหยัดค่าใช้จ่าย อำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าในการเลือกชม และสั่งซื้อสินค้า

2.4 กระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อของผู้บริโภค 1. ขั้นตอนก่อนการตัดสินใจซื้อ (Pre Purchase) - จำแนกความต้องการ - สร้างเงื่อนไข - ค้นหา และประเมินทางเลือก 2. ขั้นตอนการซื้อจริง (Actual Purchase) - ราคา คุณภาพ บริการ และประโยชน์ใช้สอย 3. ขั้นตอนหลังการซื้อ (Post Purchase) - Help Desk Systems, FAQ Systems, Suggestion Systems, CRM

ตัวอย่างการสร้างเงื่อนไข เปรียบเทียบเบื้องต้น

2.5 เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ 1. เว็บไซต์ท่าขายสินค้า (Shopping Portal Site) ภายในองค์ประกอบของเว็บไซต์ท่านี้ จะมีการจัดหมวดหมู่สินค้า และบริการอย่างเป็นระเบียบ พร้อมอำนวยความสะดวกในการค้นหา และเชื่อมโยงไปยังผู้ขายรายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เปรียบได้กับห้างสรรพสินค้าที่รวมเอาร้านค้าต่างๆไว้ในที่เดียวกัน - เว็บไซต์ท่าแบบหลากหลายชนิด (Comprehensive) - เว็บไซต์ท่าแบบเฉพาะ (Specialize)

ตัวอย่าง เว็บไซต์ท่าแบบหลากหลาย

ตัวอย่างเว็บไซต์ท่าแบบเฉพาะ

2.5 เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ 2. เว็บไซต์ตัวแทนปัญญา (Shopbots and Agents Site) เป็นเครื่องมือใช้สำหรับค้นหา และเปรียบเทียบสินค้า และบริการ ไม่ว่าจะเป็นการเปรียบเทียบในด้านราคา หรือประเภท คุณภาพของสินค้าและบริการนั้นๆ ตามแต่เงื่อนไขของผู้บริโภคที่ต้องการระบุถึง

2.5 เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ 3. เว็บไซต์วัดความนิยม (Business Ratings Sites) เป็นเครื่องมือสำหรับใช้วัดความแตกต่างหรือเปรียบเทียบผู้ขายสินค้า และบริการผ่านทางเว็บไซต์ โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่ผู้ซื้อได้ระบุความต้องการที่จะเปรียบเทียบ

2.5 เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ 4. เครื่องมือสร้างความเชื่อมั่น (Trust Verification Sites) เป็นเครื่องมือใช้สำหรับสร้างความเชื่อมั่น เพื่อให้ผู้ซื้อ หรือผู้บริโภคเกิดความไว้วางใจต่อผู้ขายผ่านทางระบบรักษาความปลอดภัยบนเว็บไซต์ ทั้งนี้ เพื่อรับประกันว่าข้อมูลส่วนตัว และการชำระเงินผ่านบัตรเครดิตของผู้ซื้อจะถูกเก็บรักษาไว้เป็นความลับอย่างปลอดภัย

แนวทางที่ทำให้ B2C ประสบความสำเร็จ ความสามารถในการทำกำไร (profitability) สร้างแบรนด์ (branding) ประสิทธิภาพ (performance) การออกแบบเว็บไซต์ (Static Design)