ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา 5510610153 ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ประชุมวางแผนกลยุทธ์เพื่อปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมรายสาขา (อุตสาหกรรมยางพาราและผลิตภัณฑ์)(ต่อ) ปัจจัยที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง - ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลโลก 2. สนับสนุนการร่วมทุนกับต่างประเทศ – ไทยขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. สนับสนุนตลาดส่งออกให้ขยายตลาดไปยังประเทศต่างๆ 4. สนับสนุนด้านระบบข่าวสารที่รวดเร็ว ในด้านข่าวสารและการผลิต 5. สนับสนุนการผลิตที่ครบวงจร – เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบเองและอยู่ในวงการยาง เพื่อรู้ทิศทางของตลาด 6. การลดภาษีนำเข้าสารเคมีที่ใช้ในการผลิตให้เหมาะสม 7. มีการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านเคมียาง 8. การจัดการแรงงานสัมพันธ์ที่ดี – อุตสาหกรรมต้องพึ่งพาแรงงานมาก 9. การมีสาธารณูปโภคที่ดี
ประชุมวางแผนกลยุทธ์เพื่อปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมรายสาขา (อุตสาหกรรมยางพาราและผลิตภัณฑ์)(ต่อ)
ปัจจัยที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง. 1 ปัจจัยที่จะช่วยในการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง 1. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง – ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากลโลก 2. สนับสนุนการร่วมทุนกับต่างประเทศ – ไทยขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัย 3. สนับสนุนตลาดส่งออกให้ขยายตลาดไปยังประเทศต่างๆ 4. สนับสนุนด้านระบบข่าวสารที่รวดเร็ว ในด้านข่าวสารและการผลิต 5. สนับสนุนการผลิตที่ครบวงจร – เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบเองและอยู่ใน วงการยาง เพื่อรู้ทิศทางของตลาด 6. การลดภาษีนำเข้าสารเคมีที่ใช้ในการผลิตให้เหมาะสม 7. มีการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านเคมียาง 8. การจัดการแรงงานสัมพันธ์ที่ดี – อุตสาหกรรมต้องพึ่งพาแรงงานมาก 9. การมีสาธารณูปโภคที่ดี
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546) ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรงราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคมยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์,กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคมยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ –กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้าต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯ ตั้งคณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไป ตามยุทธศาตร์ครบวงจร) - ตั้งองค์การยาง( กระทรวงเกษตรฯ ตั้งองค์การยางโดยรวม อสย.และ สกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับ อก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายาง และผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง
กรอบแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราครบวงจร (2542-2546)
ด้านตลาดยาง 1. จัดตั้งตลาดกลางยางพารา และรักษาเสถียรภาพราคายาง - แทรกแทรง ราคายาง ผู้รับผิดชอบ - กรมวิชาการเกษตร, องค์การยาง,สถาบันเกษตรกร,สมาคม ยางพาราไทย,กรมส่งเสริม(เกษตร), สหกรณ์, กระทรวงการต่างประเทศ 2. พัฒนาตลาดส่งออก ผู้รับผิดชอบ - กรมการค้าต่างประเทศ,กรมส่งเสริมการส่งออก,สมาคม ยางพาราไทย, สมาคมน้ำยางข้นไทย 3. สนับสนุนการพัฒนาการส่งออก ผู้รับผิดชอบ – กรมวิชาการเกษตร, กรมศุลกากร, องค์การยาง,กรมการค้า ต่างประเทศ,การท่าเรือแห่งประเทศไทย, สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือฯ
ด้านการบริหารงานภาคยาง ด้านการบริหารงานภาคยาง - ตั้งคณะกรรมการยางแห่งประเทศไทย (กระทรวงเกษตรฯ ตั้ง คณะกรรมการเพื่อให้การดำเนินงานภาครัฐเป็นไป ตามยุทธศาตร์ครบ วงจร) - ตั้งองค์การยาง ( กระทรวงเกษตรฯ ตั้งองค์การยางโดยรวม อสย.และ สกย. เพื่อสนับสนุนเกษตรกร ผู้รับผิดชอบ – กระทรวงเกษตรฯ, หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง - สนับสนุนร่วมมือกับ อก. ตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ – อก. -ตั้งกองทุนพัฒนายาง และผลิตภัณฑ์ยาง ผู้รับผิดชอบ - หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง