สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

THAI STEEL CABLE PUBLIC COMPANY LIMITED
ENGINEERING MATHAMETICS 1
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
แบบสำรวจสายตานักเรียนในโครงการแว่นสายตา
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Engineering Graphics II [WEEK5]
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
เครื่องเคาะสัญญาณ.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
การจัดกระทำข้อมูล.
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
เศษส่วน.
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
พยากรณ์การเกิดโรคมาลาเรีย ปี 2555 โดยการวิเคราะห์อนุกรมเวลา ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 15 และ 16.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
ช่างเทคนิคโตโยต้า>> เครื่องมือและเครื่องมือวัด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
การสร้างแบบเสื้อและแขน
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
Spherical Trigonometry
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ทรงกลม.
ลักซ์มิเตอร์ (Luxmeter)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer) อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด

สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดความหนา ความนูนหรือเว้าของวัตถุ เพื่อหาค่ารัศมีความโค้งของวัตถุดังกล่าว โดยสเฟียโรมิเตอร์มีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้

ส่วนประกอบ 1.สเกลหลัก A ที่แบ่งเป็นช่องช่องละ 1 มม. เหนือและต่ำกว่าขีดศูนย์ 2. แป้นกลม B ทำหน้าที่เป็นสเกลละเอียดหรือสเกลเวอร์เนียร์ที่แบ่งออกเป็นช่องๆจำนวนทั้งสิ้น 50, 100 หรือ 200 ช่องขึ้นอยู่กับความละเอียดของสเฟียโรมิเตอร์แต่ละรุ่น 3. ขาเกลียว C ติดอยู่กับแป้นกลม B สำหรับหมุนขันลง เพื่อวัดผิวโค้งของวัตถุ 4. ขาของสเฟียโรมิเตอร์ D โดยทั่วไปมีอยู่ 3 ขา มีความยาวเท่ากัน

การหาค่าละเอียด การหาค่าละเอียดของสเฟียโรมิเตอร์ เป็นการหาว่า 1 ช่องบนแป้นเวอร์เนียร์จะเทียบเท่าระยะบนแกนหลักเท่าไร โดยเริ่มจากจัดให้ขีดศูนย์ของแป้น B ตรังกับขีดใดขีดหนึ่งของสเกลหลัก A จากนั้นให้หมุนแป้น B ให้เคลื่อนที่ขึ้นหรือลง จนครบ 1 รอบ(จำนวนช่องใน 1 รอบ ของแป้นกลม B กำหนดให้เป็น N) แล้วสังเกตว่าแป้นกลม B เคลื่อนที่ได้ระยะเท่าใด (กำหนดเป็น S ) ค่าละเอียดที่สุดของเครื่องมือจะเท่ากับ

รูปแสดงถึงลักษณะสเกลละเอียดบนแป้นกลม B ของสเฟียโรมิเตอร์

ตัวอย่างเช่น ตัวหมุนแป้น B ครบ 1 รอบ โดยใน 1 รอบ แบ่งเป็น 100 ช่อง จะได้ S = 100 จากการหมุนแป้น B 1 รอบทำให้เคลื่อนที่ในแนวดิ่งได้ 1 ช่อง จะได้ N = 1 มม. ดังนั้น ค่าละเอียดจะเท่ากับ

การใช้และวิธีอ่านค่าสเฟียโรมิเตอร์ การใช้งานสเฟียโรมิเตอร์นั้นจะมี 2 ลักษณะคือ การวัดรัศมีความโค้งที่เว้า และนูนซึ่งจะมีวิธีการอ่านค่าที่แตกต่าง

กรณีที่ 1 การใช้สเฟียโรมิเตอร์วัดผิวนูนมีขั้นตอนดังนี้คือ กรณีที่ 1 การใช้สเฟียโรมิเตอร์วัดผิวนูนมีขั้นตอนดังนี้คือ 1. นำสเฟียโรมิเตอร์วางบนวัตถุที่ต้องการจะวัดรัศมีความโค้งโดยให้ขา D ทั้งสามของของสเฟียมิเตอร์สัมผัสกับวัตถุพอดีทั้งสามขา 2. ค่อยหมุนจนขา C ของสเฟียเคลื่อนที่ลงไปสัมผัสกับวัตถุเช่นเดียวกับขา D ทั้งสามที่สัมผัสอยู่ก่อนแล้ว ข้อควรระวัง ต้องสังเกตให้ขา D สัมผัสกับวัตถุจริงๆ  

3. อ่านค่าที่ได้จากสเฟียโดยอาศัยหลักการเดียวกันกับการอ่านค่าไมโครมิเตอร์คือเริ่มจากสเกลหลักก่อนจากรูปจะเห็นว่าขอบจานของแป้นกลม B อยู่เลยขีด 3 มม. ขึ้นไป แต่ยังไม่ถึงขีด 4 มม. ดังนั้นค่าจากสเกลหลักเบื้องต้นจะอ่านได้เท่ากับ 3 มม.

4. ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการอ่านค่าละเอียดโดยอ่านจากสเกลละเอียดบนแป้นกลม B ซึ่งจากรูปจะอ่านค่าได้เท่ากับ 14 5. ค่าที่อ่านได้จากสเกลละเอียดจะต้องนำไปหารด้วย 100 ก่อนจึงนำไปรวมกับค่าที่ได้จากสเกลหลักตามข้อที่ 3 ดังนี้

6. ดังนั้นค่าที่อ่านได้จริงจากสเฟียโรมิเตอร์คือ ค่าที่อ่านได้ = ค่าจากสเกลหลัก + ค่าจากสเกลละเอียด = 3 มม. + 0.14 มม. = 3.14 มม.  

กรณีที่ 2 กรณีใช้สเฟียโรมิเตอร์วัดผิวเว้านั่นคือจะต้องหมุนให้แป้นกลม B เคลื่อนที่ลง ต่ำกว่าขีด 0 การอ่านค่าจะมีขั้นตอนดังนี้คือ 1. ค่าจากสเกลหลักจะใช้หลักการอ่านค่าเช่นเดียวกับกรณีที่ 1 เพียงแต่เป็นการอ่านจากด้านบนลงสู่ด้านล่างจากรูปจะเห็นว่าขอบจานของแป้นกลม B เลื่อนตำกว่าระดับขีด 0 ลงไปด้านล่างเลยขีด 1 มม. แต่ยังไม่ถึงขีดที่ 2 มม. ดังนั้นจะอ่านค่าได้เบื้องต้นเท่ากับ 1 มม.

2. ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการอ่านค่าละเอียดโดยอ่านจากสเกลละเอียดบนแป้นกลม B ซึ่งจากรูปจะอ่านค่าได้เท่ากับ 19

แต่ในกรณีการวัดผิวเว้านั้น ค่าที่อ่านได้จากสเกลละเอียดจะต้องนำไปลบออกจาก 100 แล้วหารด้วย 100 ดังวิธีต่อไปนี้

3. นำค่าที่ได้จากสเกลหลักในข้อที่ 3 รวมกับค่าละเอียด ในข้อที่ 4 จะได้เป็นค่าที่อ่านได้จากสเฟียโรมิเตอร์นั่นคือ ค่าที่อ่านได้ = ค่าจากสเกลหลัก + ค่าจากสเกลละเอียด = 1 มม. + 0.81 มม. = 1.81 มม.

สำหรับกรณีการวัดค่ารัศมีความโค้งโดยใช้สเฟียโรมิเตอร์ค่าที่ได้จากกัดอ่านค่าสเฟียโรมิเตอร์ตามวิธีการที่กล่าวมานั้น ไม่ใช่ค่ารัศมีความโค้งโดยตรง ต้องนำไปคำนวณด้วยสมการ(1)เพื่อคำนวณหารัศมีความโค้งอีกทีหนึ่งนั่นคือ เมื่อ R คือ รัศมีความโค้งของวัตถุ (เมตร) L คือ ค่าเฉลี่ยของระยะห่างระหว่างขา D ทั้งสามขา (เมตร) d คือ ค่าที่อ่านได้สเฟียโรมิเตอร์ (เมตร) 

สื่อวิดีทัศน์การใช้สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer) video