PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
PC WORKSHOP MAY ,2001 Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University Department of Electrical , Faculty of Engineering.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
การเขียนผังงาน.
Central Processing Unit
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
Memory Internal Memory and External Memory
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
Memory Interface Memory Pin Connections 1. Address Inputs
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
Programmable Controller
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หน่วยบันทึกข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
Computer graphic.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
ชื่อกลุ่ม เด็กผู้หญิง จัดทำโดย นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว พัชราพร พวงอินใจ ม เลขที่ 23.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Khon Kaen University Introduction to Computer Organisation and Architecture.
Integrated Network Card
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
Programmable Logic Control
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ ที่สามารถโปรแกรมได้           PLC : Programmable Logic Controller (มีต้นกำเนิดจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา) เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัติในโรงงาน อุตสาหกรรมที่สามารถจะโปรแกรมได้ ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นมา เพื่อทดแทนวงจรรีเลย์ อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้ เครื่องควบ คุมที่มีราคาถูกสามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์ และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย

ข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER โรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ 2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือน คอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติดตั้ง จนถึงช่วงการใช้งานทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย 3. PLCถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อยๆ ทำให้การใช้งานสะดวกขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น

ประวัติ PLC ค.ศ.1969 PLCได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดย บริษัท Bedford Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller(Modicon) ให้กับโรงงานผลิต รถยนต์ในอเมริกาชื่อ General Motors Hydromantic Division บริษัท Allen-Bradley ได้เสนอระบบควบคุมโดยใช้ชื่อว่า PLC

ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ.1970-1979              ได้มีการพัฒนาให ้PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้นตามการ เปลี่ยนแปลงของ Microprocessor ความสามารถในการสื่อสารข้อมูล ระหว่าง PLC กับ PLC โดยระบบแรกคือ Modbus ของ Modicon เริ่มมี การใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณ Analog

ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ.1980-1989   มีความพยายามที่จะสร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ PLC  โดยบริษัท General Motor ได้สร้างโปรโตคอลที่เรียกว่า manufacturing automation protocal (MAP) ขนาดของ PLC ลดลงเรื่อย ๆผลิตซอฟแวร์ ที่สามารถโปรแกรม PLC ด้วยภาษา symbolic โดยสามารถโปรแกรมผ่านทาง  personal computer แทนที่จะโปรแกรมผ่านทาง handheld หรือ  programming terminal

ประวัติ PLC (ต่อ) ค.ศ.1990-ปัจจุบัน          ได้มีความพยายามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PLC  มีมาตรฐานเดียวกันโดยใช้มาตรฐาน IEC1131-3 สามารถโปรแกรม PLC  ได้ด้วย                     - IL (Instruction List)                     - LD (Ladder Diagrams)                     - FBD (Function Block Diagrams)                     - SFC (Sequential Function Chart)                     - ST (Structured Text)

โครงสร้างของ PLC

หน่วยความจำของ PLC 1.  RAM (Random Access Memory) หน่วยความจำประเภทนี้จะมีแบตเตอรี่เล็กๆ ต่อไว้ เพื่อใช้เลี้ยงข้อมูลเมื่อเกิดไฟดับ การอ่านและเขียนโปรแกรมลงใน RAM ทำได้ง่ายมาก จึงเหมาะกับการใช้งานในระยะทดลองเครื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมบ่อยๆ

หน่วยความจำของ PLC (ต่อ) 2.  EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจำชนิด EPROM นี้จะต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรม การลบโปรแกรมทำได้โดยใช้ แสงอัลตราไวโอเลตหรือตากแดดร้อนๆ นานๆ มีข้อดีตรงที่โปรแกรมจะไม่สูญหายแม้ไฟดับ จึงเหมาะกับการใช้งานที่ไม่ต้องเปลี่ยนโปรแกรม

                3.  EEPROM (Electrical Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจำชนิดนี้ไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนและลบโปรแกรม โดยใช้วิธีการ ทางไฟฟ้าเหมือนกับ RAM นอกจากนั้นก็ไม่จำเป็นต้องมีแบตเตอรี่สำรองไฟเมื่อไฟดับ ราคาจะแพงกว่า แต่จะรวมคุณสมบัติที่ดีของทั้ง RAM และ EPROM เอาไว้ด้วยกัน

แสดงโครงสร้างภายในของ PLC

ส่วนประกอบของ PLC PLC แบ่งออกได้ 3 ส่วนด้วยกันคือ 1. ส่วนที่เป็นหน่วยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit : CPU)

2. ส่วนที่เป็นอินพุต/เอาต์พุต (Input Output : I/O)

2. ส่วนที่เป็นอินพุต/เอาต์พุต (Input Output : I/O)

แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)

อุปกรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices) • PROGRAMMING CONSOLE • EPROM WRITER • PRINTER • GRAPHIC PROGRAMMING • CRT MONITOR • HANDHELD • etc

PROGRAMMING CONSOLE

EPROM WRITER

PRINTER

GRAPHIC PROGRAMMING

CRT MONITOR

HANDHELD

แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงบอกข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER 2. จงบอกโครงสร้างของ PLC ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย 3. จงบอกอุปกรณ์ อินพุต และอุปกรณ์เอาต์พุต พร้อมหลักการทำงาน มา ประเภทละ 3 ชนิด 4. จงอธิบายคำต่อไปนี้ - ROM - RAM - EPROM - EEPROM 5. จงเขียนประวัติของ PLC