เส้นทางสู่......ความเป็นชำนาญการ สำหรับพยาบาล นางสาว ชรัสนิกูล ยิ้มบุญณะ และคณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช
การเป็นผู้ชำนาญการไม่ยากอย่างที่คิด
(กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหิดล 2544) ทำอย่างไร ? ทำงานสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่หน่วยงาน และ ผลงานจะสะท้อนกลับมาสู่ตัวท่าน เชื่อมั่นว่าโอกาสแห่งความก้าวหน้ามีแน่นอน หากใช้ ความรู้ ความสามารถทำงานให้เกิดผล ทำงานให้เป็นระบบ พัฒนางานประจำ ให้เป็นงานท้าทาย สร้างสรรค์สิ่งใหม่ สะสมผลงาน และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อแสดงให้เห็นความชำนาญ เชี่ยวชาญอย่างแท้จริง มิใช่ทำผลงานสั้นๆ เพียงเพื่อขอตำแหน่ง (กองการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหิดล 2544)
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย มีจริยธรรม ไม่อยู่ระหว่างการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง มีเวลาในการปฏิบัติงานจริงไม่น้อยกว่า 1,380 ชั่วโมงต่อปี
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย - มหาวิทยาลัยจะประกาศชื่อผู้ขอแต่งตั้งรายชื่อผลงาน สัดส่วนของผลงานในส่วนที่ตนเองปฏิบัติ และรายชื่อผู้ร่วมงาน (ถ้ามี) ทางอินเทอร์เน็ต หรือสื่ออื่นๆ และกำหนดให้มีการทักท้วงได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศ
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย วิธีการเสนอขอ 1 วิธี 1. ผู้ขอเป็นผู้เสนอแต่งตั้ง พร้อมผลงาน วิธีการเสนอขอ 2 วิธี 1. หน่วยงานเป็นผู้เสนอขอให้โดยได้รับความยินยอมจากผู้ที่ได้รับการเสนอขอ 2. ผู้ขอเป็นผู้เสนอแต่งตั้ง พร้อมผลงาน
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง(ขรก.) คุณวุฒิ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพ ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในสาขาที่ขอกำหนดตำแหน่ง ผู้ชำนาญการ ระดับ 7-8 ปริญญาตรี 9 ปี 5 ปี ปริญญาโท 3 ปี ปริญญาเอก 2 ปี เชี่ยวชาญฯ ระดับ 9 ดำรงตำแหน่งชำนาญการ มาไม่น้อยกว่า 3 ปี เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ดำรงตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RNชำนาญการ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย ป.ตรี ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพ 9 ปี ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ป.โท ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพ 5 ปี ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ป. เอก ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพ 2 ปี ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ป.ตรี ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ป.โท ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ป. เอก ต้องดำรงตำแหน่งนั้นๆ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN ชำนาญการ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย การประเมิน 1.ปริมาณงานในหน้าที่ 2.คุณภาพงานในหน้าที่ 3.คุณลักษณะของบุคคลที่ จำเป็นสำหรับตำแหน่ง 3.สมรรถนะของบุคคลที่
คุณลักษณะที่จำเป็นของชำนาญการ (ขรก.) ความคิดริเริ่ม การตัดสินใจแก้ปัญหา การพัฒนาตนเอง การปฏิบัติตามจรรยาบรรณข้าราชการ พลเรือน
สมรรถนะของชำนาญการ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ (พม.) สมรรถนะหลัก (Core Competency) ๑. ความยึดมั่นในคุณธรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ความรับผิดชอบในงาน การทำงานเป็นทีม การวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ ชำนาญการ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๓ เชี่ยวชาญ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๔ เชี่ยวชาญพิเศษ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๕
สมรรถนะของชำนาญการ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ (พม สมรรถนะของชำนาญการ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ (พม.) สมรรถนะตามสายงาน (Functional Competency) ๖. การสั่งสมความรู้ในงานและการประยุกต์ใช้ ๗. การแก้ไขปัญหา ๘. การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๙. ความละเอียดรอบคอบ ๑๐. ความคิดเชิงวิเคราะห์ ๑๑.ความเป็นผู้นำ ๑๒.ศักยภาพเพื่อนำการ ปรับเปลี่ยน ชำนาญการ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๓ เชี่ยวชาญ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๔ เชี่ยวชาญพิเศษ ผลการประเมิน Competency ต้องไม่ต่ำกว่าระดับที่ ๕
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RNชำนาญการ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงาน อย่างน้อย 4 เรื่องและอย่างน้อย 3 ใน 4 เรื่องเป็นชื่อแรก หรือ Corresponding Author ผลงาน อย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดี ” และมีอย่างน้อย 2 เรื่องซึ่ง ผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author โดยไม่กำหนดจำนวนร้อยละการมีส่วนร่วมในผลงานนั้นๆ
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN ชำนาญการ(ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงาน ไม่กำหนดประเภทผลงาน คู่มือการปฏิบัติงาน งานวิเคราะห์ งานสังเคราะห์ บทความวิชาการ ผลงานวิจัย ตำรา หนังสือ เอกสารประกอบการบรรยาย เอกสารคำสอน อื่นๆ ผลงาน ต้องประกอบด้วย 1. คู่มือปฏิบัติการหรืองานวิเคราะห์ เป็นผู้ดำเนินการหลัก และ 2. งานวิจัย หรือบทความทางวิชาการ หรือตำรา หรือหนังสือ หรือเอกสารประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จำนวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง/ชิ้น) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN เชี่ยวชาญ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ 8 และปฏิบัติงานในสาขาเดิมที่ขอกำหนดตำแหน่งมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปี ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญการ และปฏิบัติงานในสาขาเดิมที่ขอกำหนดตำแหน่งมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 3 ปี
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN เชี่ยวชาญ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย การประเมิน 1.ปริมาณงานในหน้าที่ 2.คุณภาพงานในหน้าที่ 3.คุณลักษณะของบุคคลที่ จำเป็นสำหรับตำแหน่ง 4.การใช้ความรู้ ความ สามารถในงานบริการวิชาการหรืองานวิชาชีพเพื่อบริการต่อสังคม การประเมิน 1.ปริมาณงานในหน้าที่ 3.สมรรถนะของบุคคลที่
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN เชี่ยวชาญ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงาน อย่างน้อย 5 เรื่อง ต้องมีผลงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และต้องมีคุณภาพ “ดี” อย่างน้อย 3 เรื่องซึ่งต้องเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือ Corresponding Author ผลงาน อย่างน้อย 4 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดีมาก” ซึ่งต้องมีผลงานวิจัยอย่างน้อย 1 เรื่อง และมีผลงานอย่างน้อย 3 เรื่องซึ่ง ผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author โดยไม่กำหนดจำนวนร้อยละการมีส่วนร่วมในผลงานนั้นๆ
เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ RN เชี่ยวชาญ (ข้าราชการ VS พม.) พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงาน ไม่กำหนดประเภทผลงานได้แก่ คู่มือการปฏิบัติงาน งานวิเคราะห์ งานสังเคราะห์ บทความวิชาการ ผลงานวิจัย ตำรา หนังสือ เอกสารประกอบการบรรยาย เอกสารคำสอน อื่นๆ ที่มีคุณภาพสูง ผลงาน ต้องประกอบด้วย 1.งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ 2.งานวิเคราะห์ระบบงาน หรือ บทความวิชาการ ตำรา หนังสือ อื่นๆ ที่มีคุณภาพสูง
ผลงาน ผลงานที่แสดงให้เห็นถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความชำนาญ และผลสัมฤทธิ์ของงาน ▪ คู่มือการปฏิบัติการพยาบาล ▪ งานวิเคราะห์/ งานสังเคราะห์ ▪ บทความวิชาการ ▪ งานวิจัย ▪ ตำรา ▪ หนังสือ ▪ เอกสารประกอบการสอน ▪ เอกสารคำสอน ▪ เอกสารประกอบการบรรยาย ▪ ผลงานทางวิชาการอื่นๆ
คู่มือการปฏิบัติงาน นิยาม เอกสารที่ใช้ประกอบการปฎิบัติงานใด งานหนึ่ง หรือเอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียง ขี้นเพื่อช่วยในการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติการ
ตย.ร่าง คู่มือการปฏิบัติการพยาบาล ความสำคัญหรือความจำเป็น วัตถุประสงค์ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความรู้ตามหลักวิชาการ (พยาธิ สรีรภาพ สาเหตุ การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค การรักษา) การพยาบาล ยกตัวอย่างในลักษณะกรณีศึกษา ปัญหา อุปสรรคที่พบ และแนวทางแก้ไข อภิปราย ข้อเสนอแนะ
คู่มือการปฏิบัติการพยาบาล ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย นำไปเผยแพร่ก่อนส่งขอกำหนดตำแหน่ง ทั้งนี้ให้แนบแบบตอบรับหรือหนังสือตอบขอบคุณจากหน่วยงานที่นำไปเผยแพร่ เผยแพร่ภายหลังจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพแล้ว
งานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ นิยาม งานรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์/สังเคราะห์สถานการณ์หรือปัญหา โดยใช้วิธีการทางสถิติ และสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาหรือการแก้ไขปัญหา
งานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ ความสำคัญหรือความจำเป็น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ความรู้ตามหลักวิชาการเกี่ยวกับเรื่องที่วิเคราะห์/สังเคราะห์ วิธีการดำเนินงาน การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ไขปัญหา แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา การเก็บข้อมูลหลังการแก้ไขปัญหา วิจารณ์ ข้อเสนอแนะ แนวทางปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอีก ควรเขียนให้เป็นแนวคิดของตัวเอง และมีการอ้างอิงสนับสนุนแนวคิดนั้นๆ
งานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ การเผยแพร่ งานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ การเผยแพร่ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย นำไปเผยแพร่ก่อนส่งขอกำหนดตำแหน่ง เผยแพร่ภายหลังจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพแล้ว
งานวิจัย กำหนดประเด็นปัญหา วัตถุประสงค์ การทบทวนวรรณกรรม กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทความวิชาการ จุดเด่น มีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการ อาจเป็นการนำความรู้จากแหล่งต่างๆ มาประมวลร้อยเรียงเพื่อวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยผู้เขียนแสดงทัศนะทางวิชาการของตนอย่างชัดเจน
เอกสารประกอบการสอน (ขรก.) นิยาม เอกสารหรือสื่ออื่นๆ ที่ใช้ประกอบการสอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรมหาวิทยาลัยที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ เอกสารคำสอน (ขรก.) นิยาม เอกสารคำบรรยายหรือสิ่งอื่นๆ ที่ใช้สอนวิชาใดวิชาหนึ่งตามหลักสูตรมหาวิทยาลัยที่สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาและวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ โดยอาจพัฒนาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน (ขรก.) เอกสารคำสอน (ขรก.) การเผยแพร่ อาจเป็นเอกสารที่จัดทำเป็นรูปเล่ม หรือถ่ายสำเนาเย็บเล่ม หรือเป็นสื่ออื่นๆ เช่น ซีดีรอมที่ได้ใช้ประกอบการบรรยายเรื่องใดเรื่องหนึ่งในสาขาวิชาของตน การเผยแพร่ Power pointไม่สามารถใช้ขอกำหนดตำแหน่งได้
เอกสารประกอบการบรรยาย (พม.) นิยาม เอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการบรรยายเรื่องใดเรื่องหนึ่งในสาขาวิชาของตน โดยมีเนื้อหาสาระตรงตามที่บรรยายและต้องจัดทำเป็นรูปเล่มอย่างเรียบร้อย รูปแบบ เป็นเอกสาร หรือสื่ออื่นๆ เช่น Power point * ที่มีรายละเอียดประกอบพอสมควร
ผลงาน ทั้งนี้ ผลงานที่นำเสนอเพื่อพิจารณา จะต้อง มิใช่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหรือการฝึกอบรม (๒) มิใช่ผลงานเดิมที่เคยใช้ในการประเมินแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นมาแล้ว (๓) ระบุการมีส่วนร่วมและมีคำรับรองจาก ผู้มีส่วนร่วม กรณีที่เป็นผลงานร่วม
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน ขรก. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง งานการพยาบาล ที่สังกัด คณะกรรมการฯ ของฝ่ายฯ รวบรวมผลงาน ขอคำปรึกษาจากคณะกรรมการฯ รับ ตรวจสอบ 1.ใบนำส่ง 2. กบม.08 8 ชุด 3. ผลงานพร้อม กบม.10 แผนภูมิ 1 ชุด 4. File ผลงาน 5. ผลงานสำหรับให้ห้องสมุดเรื่องละ 2 เล่ม หัวหน้างานพิจารณาให้ ความเห็น ลงนามใน ใบนำส่ง และ กบม.10 เลขาฯ ตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วน นัดวันพิจารณา พร้อมส่งเอกสารให้กรรมการฯ อ่านล่วงหน้า เขียน กบม. 08, และผลงานพร้อม กบม.10 ส่ง 1.ใบนำส่ง 2. กบม.08 8 ชุด 3. ผลงานพร้อม กบม.10 แผนภูมิ 1 ชุด 4. File ผลงาน 5. ผลงานสำหรับให้ห้องสมุดเรื่องละ 2 เล่ม
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน ขรก. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง คณะกรรมการฝ่ายฯ จนท.บริหาร หัวหน้างานฯ หัวหน้าฝ่ายฯ ประชุม พิจารณาและ ให้คำแนะนำ แก้ไข กบม. 08, และผลงานพร้อม กบม.10 แผนภูมิ ตามที่คณะกรรมการฯ แนะนำและส่งเลขาฯอย่างละ 1 ชุด พร้อมส่งใบบันทึกผลงาน ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่แก้ไขแล้วให้คำแนะนำ ขั้นตอนต่อไป ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารให้คำแนะนำ
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน ขรก. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้างานฯ หัวหน้าฝ่ายฯ นำ กบม.08 ผลงาน พร้อม กบม.10 และแผนภูมิ เสนอหัวหน้างาน พิจารณา กบม.08และผลงาน พร้อม กบม.10 ลงนาม นำ กบม.08 ผลงาน พร้อม กบม.10 และแผนภูมิ ที่ หน.งาน เซ็นแล้วส่ง จนท.บริหาร พิจารณา กบม.08 ผลงาน พร้อม กบม.10 ลงนาม เสนอหน.ฝ่ายฯ
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน ขรก. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้าฝ่ายฯ ผอ.รพ. คณบดี อธิการบดี แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เตรียม 1. กบม. 08 16 ชุดและผลงาน พร้อม กบม.10 4 ชุด ส่งมหาวิทยาลัย 2. กบม. 08 และผลงานพร้อม กบม.10 ส่งงานฯ ทรัพยากรบุคคล ฝ่ายฯ 1 ชุด ตรวจสอบเอกสารเสนอหน.ฝ่ายฯ ทำบันทึกขอเสนอแต่งตั้งกรรมการประเมินฯคุณสมบัติฯ แต่งตั้งคณะกรรม การ ประเมินคุณสมบัติฯ เสนอ ผอ.รพ. เสนอคณบดี อนุกรรมการมหาวิทยาลัยพิจารณาผลการประเมิน เสนอผลต่อ กบค.เพื่ออนุมัติ ดำเนินการแจ้งผู้ขอกำหนดตำแหน่ง รับทราบ กรณีผ่านเซ็นรับคำสั่งทำบัตรประจำตัวใหม่ อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้ง รับทราบ รับทราบ รับทราบ
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน ของ พม. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง งานการพยาบาล ที่สังกัด คณะกรรมการฯ ของฝ่ายฯ รวบรวมผลงาน ขอคำปรึกษาจากคณะกรรมการฯ รับ ตรวจสอบ 1.ใบนำส่ง 2. พม.01,02,03, แผนภูมิ 8 ชุด 3. ผลงานพร้อม พม.06 1 ชุด 4. File ผลงาน 5. ผลงานสำหรับให้ห้องสมุดเรื่องละ 2 เล่ม หัวหน้างานพิจารณาให้ ความเห็น ลงนามใน ใบนำส่ง และพม.06 เลขาฯ ตรวจสอบเอกสารให้ครบถ้วน นัดวันพิจารณา พร้อมส่งเอกสารให้กรรมการฯ อ่านล่วงหน้า เขียน พม.01,02,03, และผลงานพร้อม พม.06 ส่ง 1.ใบนำส่ง 2. พม.01,02,03, แผนภูมิ 8 ชุด 3. ผลงานพร้อม พม.06 1 ชุด 4. File ผลงาน 5. ผลงานสำหรับให้ห้องสมุดเรื่องละ 2 เล่ม
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน พม. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง คณะกรรมการฝ่ายฯ จนท.บริหาร หัวหน้างานฯ หัวหน้าฝ่ายฯ ประชุม พิจารณาและ ให้คำแนะนำ แก้ไข พม.01,02,03, แผนภูมิ และผลงานพร้อม พม.06 ตามที่คณะกรรมการฯ แนะนำและส่งเลขาฯอย่างละ 1 ชุด พร้อมส่งใบบันทึกผลงาน ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่แก้ไขแล้วให้คำแนะนำ ขั้นตอนต่อไป ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารให้คำแนะนำ
ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน พม. ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้างานฯ หัวหน้าฝ่ายฯ นำ พม.01,02,03, แผนภูมิ และผลงานพร้อม พม.06 เสนอหัวหน้างาน พิจารณาแบบประวัติ ผลงาน บันทึกความเห็นในใบประเมินผลพร้อมลงนาม นำ พม.01,02,03, แผนภูมิ และผลงานพร้อม พม.06 ที่ หน.งานเซ็นแล้วส่ง จนท.บริหาร พิจารณา พม.01,02,03, แผนภูมิ และผลงานพร้อม พม.06 ลงนาม เสนอหน.ฝ่ายฯ
จนท.บริหาร หัวหน้าฝ่ายฯ ผอ.รพ. คณบดี ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน พม. “ชำนาญการ/เชี่ยวชาญ/เชี่ยวชาญพิเศษ” ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้าฝ่ายฯ ผอ.รพ. คณบดี มหาวิทยาลัย แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เตรียม 1. พม.01,02,03, แผนภูมิ 2 ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งมหาวิทยาลัย 2. พม.01,02,03, แผนภูมิ 1ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งงานฯ ทรัพยากรบุคคล ตรวจสอบเอกสารเสนอหน.ฝ่ายฯ ทำบันทึกขอเสนอแต่งตั้งอนุกรรมการระดับส่วนงาน -แต่งตั้งอนุกรรม- การระดับส่วนงาน -เสนอผลการประเมินต่อ มหา วิทยาลัย. เสนอ ผอ.รพ. เสนอคณบดี อนุกรรมการมหาวิทยาลัยพิจารณาผลการประเมิน เสนอผลต่อ กบค.เพื่ออนุมัติ ดำเนินการแจ้งผู้ขอกำหนดตำแหน่ง รับทราบ กรณีผ่านเซ็นรับคำสั่งทำบัตรประจำตัวใหม่ อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้ง รับทราบ รับทราบ รับทราบ
http://www.172.21.104.1/ns
เลือก ฝ่ายการพยาบาลฯ
SINET
(พระราชดำรัสของสมเด็จพระราชบิดา) ขอให้ถือผลประโยชน์ ส่วนตัวเป็นที่ 2 ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่ 1 ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศจะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์ (พระราชดำรัสของสมเด็จพระราชบิดา)
การส่งเสริม สนับสนุน จัดประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่ง จัดประชุมให้ความรู้ในการเขียนผลงานวิชาการประเภทต่างๆ ตลอดจน การเขียนแบบประวัติ สร้างทีมงานและพัฒนาศักยภาพของกรรมการ (กลุ่มย่อย) ในแต่ละงานการพยาบาลฯ เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ
การส่งเสริม สนับสนุน เปิดคลินิกชำนาญการ เพื่อให้คำปรึกษา : สถานที่ งานวิจัยและวิชาการ ตึก 84 ปี ชั้น 2 ฝ่ายการพยาบาล ฯ เวลาทำการ จันทร์ เวลา 13.00 – 16.30 น. กรุณาโทรนัดหมายล่วงหน้า 7811,9045
การส่งเสริม สนับสนุน กลุ่ม Buddy โดยให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งแล้ว มีประสบการณ์ในการขอกำหนดตำแหน่ง มีความยินดี เต็มใจ ให้ความช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะขอกำหนดตำแหน่งทั้งด้านการเขียนผลงานวิชาการ แบบประวัติ และที่สำคัญคือการสร้างกำลังใจในลักษณะพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน นัดทำผลงานด้วยกัน ทำให้มีเพื่อน มีแรงจูงใจในการทำผลงาน สถานที่ งานวิจัยและวิชาการ ตึก 84 ปี ชั้น 2 ฝ่ายการพยาบาล ฯ เวลาทำการ จันทร์ เวลา 13.00 –19.00 น. โทรนัดหมายล่วงหน้า 7811,9045
การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำปรึกษา จากคณะกรรมการฯ นางสาว ปรีดาภรณ์ สีปากดี โทร.9046 นางสาวโสพิน สุวรกุล โทร. 5844-5 นางสาวมยุรี พรหมสุวรรณ โทร. 4095 นางสาวทัศนีย์ เกิดศรี โทร. 7329 นางวัลลภา สังฆโสภณ โทร. 8521 นางยาจิต ธนวิบูลย์ โทร. 7984 นางสาวสุวภาพ จันทรสมบูรณ์ โทร. 9202
การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำปรึกษา จากคณะกรรมการฯ นางสาวอัมพร คงจีระ โทร.4741 นางสุจิตตรา พงศ์ประสบชัย โทร. 7377 นางสาวราตรี พรนฤสุวรรณ โทร.7700,7805 ต่อ108 นางสาวพูนศิริ อรุณเนตร โทร.7700,7805 ต่อ109 นางสาวจิราภรรณ ทองสุโชติ โทร. 8541 นางสาวชรัสนิกูล ยิ้มบุญณะ โทร.7811,9045 นางสาว จันทนา นามเทพ โทร. 7811,9045