การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการ
เดิม เริ่มใช้ 1 เม.ย. 2544 ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานจาก ผลงาน (สัดส่วนคะแนนไม่น้อยกว่า 70%) คุณลักษณะการปฏิบัติงาน ประเมิน ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 : 1 ต.ค. – 31 มี.ค. ครั้งที่ 2 : 1 เม.ย. – 30 ก.ย.
ผลการประเมินมี 3 ระดับ ดีเด่น 90 – 100 % เป็นที่ยอมรับได้ 60 -89 % ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60 %
ใหม่ เริ่มใช้ 1 ต.ค.53 แต่ ก.พ.อ. เอื้อให้ใช้ตามแนวทางเดิมได้ หากมหาวิทยาลัยใดพร้อมดำเนินการตามประกาศ ก.พ.อ. ทั้งรอบ หรือบางส่วนก็ได้ มหาวิทยาลัยเริ่มใช้รอบการประเมิน 1 มี.ค.54 เป็นต้นไป รอบการประเมิน ประเมินปีละ 2 รอบๆ ละ 6 เดือนเหมือนเดิม แต่สภามหาวิทยาลัยอาจกำหนดช่วงเวลาตามรอบการประเมินได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะงาน
องค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของงานตามตัวชี้วัด ไม่น้อยกว่า 70 % สมรรถนะ โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติ ราชการ ไม่เกิน 30 % สมรรถนะหลัก อย่างน้อย 3 – 5 ด้าน สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงาน อย่างน้อย 4 – 6 ด้าน สมรรถนะทางการบริหาร อย่างน้อย 5 ด้าน
ประกาศผู้มีผลการประเมินดีเด่นและดีมากให้ทราบทั่วกัน การจัดกลุ่มระดับและช่วงคะแนน อย่างน้อย 5 ระดับ คะแนนต่ำสุดของ “พอใช้” ต้องไม่ต่ำกว่า 60 % จึงมีสิทธิเลื่อนเงินเดือน ระดับ ช่วงคะแนน หมายเหตุ ดีเด่น 90 - 100 ประกาศผู้มีผลการประเมินดีเด่นและดีมากให้ทราบทั่วกัน ดีมาก 80 - 89 ดี 70 - 79 พอใช้ 60 - 69 ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60
วิธีการประเมิน ก่อนรอบการประเมิน ให้ผู้ประเมิน(ผู้บังคับบัญชาโดยตรง) และผู้รับการประเมินจัดทำข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับ การมอบหมายงาน การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การกำหนดดัชนีชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรมและเหมาะสมกับลักษณะงาน
ให้อธิการบดีแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการ ประเมินผลปฏิบัติราชการ ทำหน้าที่เสนอความเห็น เกี่ยวกับ มาตรฐานและความเป็นธรรมของการประเมิน ผลการประเมิน (มหาวิทยาลัยกำหนดให้ส่วนงานแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการปฏิบัติงานประจำส่วนงานพิจารณานำผลการประเมินมาเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนา ความก้าวหน้าความดีความชอบ จ้างต่อ / ขยายสัญญา)
ให้ผู้ประเมินแจ้งผลการประเมินให้ผู้รับการประเมิน ทราบเป็นรายบุคคล โดยให้ลงนามรับทราบผลการประเมิน (กรณีไม่ยินยอมลงนามรับทราบผลการประเมิน ให้หาพยานบุคคลลงนามไว้เป็นหลักฐาน)
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2552 (สภามหาวิทยาลัยกำหนดให้ใช้ประเมินบุคลากรทุกประเภท)
รอบการประเมิน : ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 : 1 ก.ย. – 28/29 ก.พ. ครั้งที่ 2 : 1 มี.ค. – 31 ส.ค. องค์ประกอบการประเมิน 1. ผลงาน ตามข้อตกลงการปฏิบัติงานล่วงหน้า 2. สมรรถนะ ❃ สมรรถนะหลัก ❃ สมรรถนะทางการบริหาร ❃ สมรรถนะเฉพาะตามสายอาชีพ
ผู้ประเมิน เสนอรายชื่อคณะกรรมการประเมินให้ส่วนงานแต่งตั้ง ประกอบด้วย ผู้ประเมิน กรรมการที่ได้รับการเสนอชื่อโดยผู้ประเมิน กรรมการที่ได้รับการเสนอชื่อโดยกลุ่มผู้รับการประเมินจำนวน 1 ใน 3 ของคณะกรรมการประเมิน คณะกรรมการประเมินผลงานตามข้อตกลงจากข้อมูลที่เก็บได้ตามตัวชี้วัดและประเมินสมรรถนะ
สัดส่วนองค์ประกอบผลงานและสมรรถนะ สนับสนุน 80 : 20 วิชาการ 80 : 20 ผู้บริหาร (ระดับต้น/กลาง) 50 : 50 ผู้บริหารอื่นๆ 60 : 40
คะแนนผลการประเมิน แบ่งเป็น 4 ระดับ ดีเด่น 90.0 – 100.0 คะแนน ดี 70.0 – 89.9 คะแนน พอใช้ 50.0 – 69.9 คะแนน ควรปรับปรุง ต่ำกว่า 50.0 คะแนน
ประเด็นที่แก้ไข/เพิ่มเติมประกาศฯ (ตามแนวทาง ก.พ.อ.) คะแนนผลการประเมินเป็น 5 ระดับ กำหนดช่วงคะแนนใหม่ คะแนนต่ำสุดของระดับพอใช้ ต้องไม่ต่ำกว่า 60 % จึงจะมีสิทธิเลื่อนเงินเดือน