การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1) หน่วยรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีร่วมรักษา สาขาวิชารังสีวินิจฉัย ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ทำไมต้องมีการบันทึกข้อมูล เป็นข้อมูล และสถิติของหน่วยฯ เป็นข้อมูลการตรวจรักษาของผู้ป่วย เพื่อประโยชน์ในการติดตามผลการรักษาต่อเนื่อง เป็นข้อมูลในการศึกษา ค้นคว้า ทำวิจัย
การบันทึกข้อมูลในอดีต จดบันทึกลงกระดาษ
ข้อมูลที่ต้องบันทึกมีอะไรบ้าง ข้อมูลผู้ป่วย - ชื่อ-นามสกุล, อายุ, เพศ - HN, AN, RN - ward - วันที่ตรวจ - ที่อยู่ของผู้ป่วย
ข้อมูลที่ต้องบันทึกมีอะไรบ้าง ข้อมูลการเจ็บป่วย - Diagnosis - Study - ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตปัจจุบัน - อาการสำคัญที่มาพบแพทย์
ข้อมูลที่ต้องบันทึกมีอะไรบ้าง ข้อมูลการตรวจวินิจฉัยอื่นๆ ที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจ ได้แก่ - Plain film, - Ultrasound, CT, MRI, IVP, GI, Scope - ผล Biopsy - ผล Blood chemistry ฯลฯ - ผลการตรวจทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีร่วมรักษา
การบันทึกข้อมูลในปัจจุบัน Digital file 2 file 1. Window explorer จะเก็บข้อมูลของผู้ป่วย และภาพรังสีหลอดเลือดโดยแยกตามประเภทของโรค การตรวจ และจะมีประวัติผู้ป่วยและรายงานผลแต่ละครั้งในรูปของไฟล์ pdf จากโปรแกรม FileMaker Pro7
การบันทึกข้อมูลในปัจจุบัน 2. SPSS file version 11.5 จะเก็บข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล ผู้ป่วย วันเดือนปีที่ตรวจ, รังสีแพทย์ที่ทำการตรวจ, ส่วนที่ตรวจ การวินิจฉัยโรค ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ประเภทของการรักษา ทางรังสีร่วมรักษา รวมทั้ง Unit cost ของผู้ป่วย และที่เรียกเก็บ จากผู้ป่วย ฯลฯ เพื่อการคำนวณสถิติต่างๆ