รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม พื้นที่ ตำบลคลองโยง ส่วนงานที่รับผิดชอบประสาน : คณะเทคนิคการแพทย์ และกลุ่มภารกิจวิจัยชุมชน Theme: เครือข่ายมหาวิทยาลัยร่วมชุมชน..เพื่อ..คนคลองโยง รูปแบบ: สุขภาพและปัจจัยที่เกื้อหนุนคุณภาพชีวิต วันดำเนินการ: ครึ่งวันเช้า ปลายกุมภาพันธ์/ต้นมีนาคม?? แนวคิด: “ให้” “ร่วมเรียนรู้” มากกว่า “เข้ามาเอา” และมีความต่อเนื่อง ให้ชุมชนเกิดภูมิต้านทานสามารถดูแลตนเองได้ กิจกรรม: ฐานการเรียนรู้, มีคู่มือสะสมความรู้, มีเอกสารประกอบที่เข้าใจและปฏิบัติได้ง่าย,
รูปแบบการดำเนินกิจกรรมฟื้นฟูหลังน้ำท่วม พื้นที่ ตำบลคลองโยง ส่วนงานที่รับผิดชอบประสาน : คณะเทคนิคการแพทย์ การออกหน่วยให้บริการ - การคัดกรอง และเก็บข้อมูลเบื้องต้น เช่น พื้นฐานทั่วไป สัญญาณชีพ - คัดกรองความเสี่ยงโรค และสุขภาพจิต การตรวจคัดกรองสุขภาพโดยแพทย์ -บันทึกประวัติการตรวจคัดกรอง -สั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการตามเกณฑ์ที่ได้วางไว้ (ตามพื้นที่ต้นแบบ กับพื้นที่ฟื้นฟู) - สั่งจ่ายยาสามัญ
การตรวจทางเทคนิคการแพทย์ และรังสีเทคนิค - การจัดเก็บตัวอย่างตรวจ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค - การให้ความรู้ และการฝึกทักษะการดูแลสุขภาพ
หัวข้อปรึกษาหารือ คณะ/สถาบันที่ประสงค์เข้าร่วม รูปแบบกิจกรรมให้เกิดความสอดคล้อง การสนับสนุนจากทางกลุ่มภารกิจวิจัยชุมชน และ การสนับสนุนที่อยากให้พื้นที่รับผิดชอบ ประเด็นการถอดบทเรียน
รูปแบบกิจกรรม /ช่วงเวลา หน่วยงาน / ส่วนงานที่เข้าร่วม รูปแบบกิจกรรม /ช่วงเวลา ประเด็นฝาก คณะสวล.ฯ การจัดการน้ำและภัยพิบัติ โมเดลสวนพืชลอยน้ำ การจัดเวทีแลกเปลี่ยนการปรับการเพาะปลูกในสถานการณ์อุบัติภัย เครือข่ายการจัดการน้ำ เชิงภูมิศาสตร์และการจัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชน ค้นหาปราชญ์ชาวบ้าน วิชาการที่ง่ายและนำไปใช้ได้จริง มุ่งให้เกิดความต่อเนื่องและสม่ำเสมอ มีเวทีกลางหลังการจัดเวทีในชุมชนเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างพื้นที่เพื่อชุมชนจัดการชุมชน สถาบันโภชนาการ ความรู้เพื่อการจัดการด้านโภชนาการ และการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ให้ความรู้กับการจัดการเครื่องจักรยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า มทร.รัตนโกสินทร์ รร.รพ.รามา เยี่ยมบ้านโรคเรื้อรัง การใช้ยา และการดูแลตนเองเบื้องต้น