อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ การบริหารเพื่อการปฏิรูประบบงบประมาณสำหรับผู้บริหารสำนักงบประมาณในโครงการ “Leadership Development Program for Thailand” โดย อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7 และ 9 กุมภาพันธ์ 2548
ประเด็นที่จะนำเสนอ Why reform? การปฏิรูประบบงบประมาณของไทย Current Policy Framework for Budget Reform ลักษณะของระบบงบประมาณสมัยใหม่ ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบัน Prospects/Concerns in Budget Reform
Why reform? External Factors Importance of International Trade and Financial Sectors Increasing Awareness of Country’s Competitiveness International Forces: e.g. from World Bank, IMF Globalization Fashion
Why reform? (Cont’d) Internal Factors Declining Public Trust toward Governments Decreases in Public Organizations’ Performance and Efficacy Fiscal Crisis and Government’s Risks to Fiscal Discipline Public Awareness for Value of Money/ Value of Public Spending Policy-driven Government
การปฏิรูประบบงบประมาณของไทยในอดีต การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินรูปแบบกระทรวง ทบวง กรม ในปี พ.ศ. 2435 เริ่มมีการจัดทำงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line-Item) ในปี พ.ศ. 2440 (External Forces) การจัดตั้งสำนักงบประมาณในปี พ.ศ. 2502 มีความพยายามในการประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budget) แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ (External Forces) การประยุกต์ใช้ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (PPBS) ในปี พ.ศ. 2527 ควบคู่ไปกับระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ (Westernized Internal Forces) การพยายามปรับปรุงระบบงบประมาณแบบมุ่งผลสำเร็จ (RBB) ระบบงบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามแผนยุทธศาสตร์ (SPBB) ราวปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา (External and Internal Forces)
ข้อเท็จจริงเรื่องการบริหารภาครัฐกับ การปฏิรูประบบงบประมาณ การปฏิรูประบบราชการจะไม่ประสบผลสำเร็จหากมีการปรับปรุงเพียงโครงสร้างองค์การ การปฏิรูประบบราชการที่ประสบผลสำเร็จมักจะใช้การปฏิรูประบบงบประมาณเป็นตัวกำกับทิศทางการปฏิรูประบบราชการ เช่น ประเทศนิวซีแลนด์, แคนาดา, ออสเตรเลีย, อังกฤษ, อเมริกา ฯลฯ
Current Policy Framework for Budget Reform รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นโยบายของรัฐบาล (ประเด็นยุทธศาสตร์)
จุดเน้น (ลักษณะ) ของระบบงบประมาณสมัยใหม่ MTEF, กรอบนโยบายการคลัง-การวิเคราะห์ประมาณการเศรษฐกิจ, กรอบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน, กรอบแผนปฏิบัติราชการแผ่นดิน ฯลฯ มุ่งเน้นการรักษาวินัยทางการคลัง มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งเน้นการใช้จ่ายที่ตอบสนองต่อความต้องการของพลเมือง เทคนิควิเคราะห์งบประมาณสมัยใหม่, การวัดต้นทุนในการดำเนินงาน, การวัดผลสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ, Management Discretion, Decentralized Operation ฯลฯ การจัดสรรงบประมาณที่คำนึงถึงภารกิจพื้นฐานแห่งรัฐ และประเด็นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล
ประเด็นสำคัญในการปฏิรูประบบงบประมาณในปัจจุบัน การกำหนดโครงสร้างผลผลิต (Output Structure) สำหรับการกำหนดแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และการจัดสรรงบประมาณอย่างไร? จะมีโครงสร้างผลผลิตที่สะท้อนภารกิจหลักของรัฐ และภารกิจตามประเด็นยุทธศาสตร์อย่างไร? จะจัดสรรต้นทุน (Standardized cost) สำหรับผลผลิตประเภทต่างๆ อย่างไร? บทบาท-การประสานงานระหว่างสำนักงบประมาณ และกระทรวง-กรม ในกระบวนการปฏิรูประบบงบประมาณจะเป็นเช่นใด?
Australia
Australia (Cont’d) Federal System Large Local Government whereas limited Federal Government Functions Weigh more on Management Efficiency and Program Effectiveness
Prospects/Concerns in Budget Reform ความเชื่อมโยงระหว่างการปฏิรูประบบงบประมาณและการเพิ่มผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ (Linkage between budget reform and Public Sectors’ Performance) การกำหนดโครงสร้างผลผลิต กรอบแนวคิดในการปฏิรูประบบงบประมาณ และความเชื่อมโยงระหว่างภารกิจของรัฐ-นโยบายยุทธศาสตร์-ผลผลิต ในระบบงบประมาณ (Output Structure-Service Delivery and Budget Reform Framework) การประสานงาน-ความร่วมมือระหว่างสำนักงบประมาณและหน่วยนโยบาย-หน่วยปฏิบัติการ (Collaboration between BoB and Ministries/Departments in Budget Reform Plan and Process) การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ –ฝ่ายนิติบัญญัติ (Public Participation and Legislative Commitment in Budget Reform Process) การเพิ่มอิสระและดุลยพินิจของผู้บริหารหน่วยงาน (Management Discretion and Leadership (Macro-Micro))