ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
มหัศจรรย์ น้ำยาล้างจาน.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
เคมีอินทรีย์ แอลคีน ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ ฟีนอล และแอริลเฮไลด์
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
8.2.1 ไอออนในสารละลายกรด สารละลายกรดทุกชนิดมีไอออนที่เหมือนกันคือ H3O+
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4209 (พ. ศ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
สารประกอบ.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีชัณสูตรแรงแอลกอฮอล์ในน้ำสุรา สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่เลยสาขาเมือง
ยางพอลิไอโซพรีน.
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
เรื่องอากาศอยู่ที่ไหน
การจำแนกประเภทของสาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การออกแบบการเรียนรู้
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4210 (พ. ศ
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
โครงงานวิทยาศาสตร์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)

เมทิลเอทาโนเอต เมทิลซาลิซิเลต เช่น เอสเทอร์ เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดอินทรีย์กับแอลกอฮอล์ โดยที่หมู่ –OH ในกรดถูกแทนที่ด้วย O-R ของแอลกอฮอล์มีสูตรทั่วไปดังนี้ เช่น เมทิลเอทาโนเอต เมทิลซาลิซิเลต

กรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์ เรียกว่า ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน การเตรียมเอสเทอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่าง กรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์ เรียกว่า ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน (Esterification)  ตัวอย่าง ปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับเอทานอล ที่อุณหภูมิสูง โดยมีกรดซัลฟิวริก (H2SO4) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ดังสมการ  CH3COOH +CH3CH2OH CH3COOCH2CH3 + H2O กรดแอแซติก เอทานอล เอทิลเอทาโนเอต กลิ่นน้ำยาล้างเล็บ   การทดลองปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน จุดประสงค์ 1.เพื่อศึกษาปฏิกิริยาเอสเทอร์ริฟิเคชั่นระหว่างกรดคาร์บอกซิลิกกับแอลกอฮอล์ 2.เพื่อศึกษาสมบัติของสารอินทรีย์ที่เป็นเอสเทอร์จากสมบัติที่มีกลิ่นเฉพาะตัว สมมติฐาน กรดคาร์บอกซิลิทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ในสภาวะที่เหมาะสมจะได้เอสเทอร์

ตัวอย่าง กรดคาร์บอกซิลิก + แอลกอฮอล์ CH3COOH +CH3CH2OH CH3COOCH2CH3 + H2O กรดแอซิติก เอทานอล เอทิลเอทาโนเอต กลิ่นน้ำยาล้างเล็บ 2.CH3COOH + CH3(CH2)3CH2OH CH3COOCH2(CH2)3CH3+H2O กรดแอซิติก เพนทานอล เพนทิลเอทาโนเอต กลิ่นคล้ายกล้วย  

4. CH3CH2CH2COOH+CH3OH CH3CH2CH2COOCH3+H2O 3. กรดซาลิซิลิก เมทานอล เมทิลซาลิซิเลต กลิ่นน้ำมันระกำ 4. CH3CH2CH2COOH+CH3OH CH3CH2CH2COOCH3+H2O กรดบิวทาโนอิก เมทานอล เมทิลบิวทาโนเอต กลิ่นคล้ายแอปเปิ้ล

สารเคมีใช้ในการทดลอง

1. เอทิลแอลกอฮอล์(เอทานอล)  

2.เมทิลแอลกอฮอล์ (เมทานอล)

3. เพนทิลแอลกอฮอล์(เพนทานอล)

4. กรดเอทาโนอิก ( กรดน้ำส้ม )

5. กรดซัลฟิวริก ( เร่งปฏิกิริยา )

อุปกรณ์ใช้ในการทดลอง

1. บีกเกอร์

2. ขวดรูปชมพู่

3. ตะเกียงแอลกอฮอล์

4. หลอดทดลอง

5. หลอดหยดสาร

6. ขาตั้ง

7. เทอร์โมมิเตอร์

วิธีการทดลอง

เตรียมสารเคมี

พิสูจน์กลิ่นสาร

หยดสารลงหลอดทดลอง

เขย่าสาร

ตั้งน้ำและวัดอุณหภูมิ

นำสารไปอุ่นในน้ำอุณหภูมิ 65-70 องศาเซลเซียส

พิสูจน์กลิ่นสารเอสเทอร์ตัวใหม่

สรุปผลการทดลอง จากการทดลอง พบว่าปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันที่เกิดขึ้นจะต้องมี H2SO4 และความร้อน เป็นพลังงานในการเร่งปฏิกิริยา โดยเมื่อทำการทดลองแล้วพบว่า เอสเทอร์แต่ละชนิด ให้กลิ่นที่แตกต่างกัน เอทิลเอทาโนเอต ให้กลิ่นที่มีคล้ายกับลูกโป่ง วิทยาศาสตร์ เพนทิลเอทาโนเอต ให้กลิ่นคล้ายกลิ่นกล้วย เมทิลซาลิซิเลต ให้กลิ่นน้ำมันระกำ สรุปได้ว่าสารประกอบเอสเทอร์ มีกลิ่นเฉพาะตัวของสาร