เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น จัดทำโดย ด. ช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สื่อประกอบการเรียนรู้
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
บทที่ 2.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ระยะเว ลา ประเด็น วิธีการ / ช่องทาง การ ประชาสัมพั นธ์ ผู้รับผิดช อบ ตุลาคม ๒๕๕๗ วันสุขภาพจิตโลก ๑๐ - ประเด็นที่กรมสุขภาพจิตกำหนด ความสุขสร้างได้ด้วยตัวเรา.
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การรู้สัจธรรมของชีวิต
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.. วิเคราะห์ศักยภาพในการ ดูแลตนเอง.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น จัดทำโดย ด. ช เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น จัดทำโดย ด.ช.อาทิตย์ ภูมิภูเขียว ม.3/1 เลขที่ 2 ครูที่ปรึกษา ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ กเกดด้า

วัฏฏะ3และการบริโภคอาหาร วัฏฏะ มี 3 องค์ประกอบ คือ กิเลส กรรม วิบาก  เมื่อบุคคลทำอะไรลงไป ไม่ว่าทางใด หากทำลงไปด้วยกิเลสที่อยู่ในใจ ก็จะก่อให้เกิดกรรมเมื่อเกิดกรรมก็จะเกิดวิบากกรรมคือผลตามมา วิบากหรือผลอันนี้ก็จะก่อให้เกิดกิเลสขึ้นอีก และกิเลสจะก่อให้เกิดกรรมขึ้นอีก กรรมนี้จะก่อให้เกิดวิบาก หรือผลขึ้นอีก วนเวียนไปอย่างนี้เรื่อยๆ จนกว่าคนจะดับกิเลสหมดสิ้น จึงจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด

วัฏฏะ 3 ได้แก่ 1. กิเลสหรือกิเลสวัฏฏ์ (Defilements) วงจรของกิเลส เป็นตัวสาเหตุผลักดันให้คิดปรุงแต่งการกระทำต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน  2. กรรมหรือกรรมวัฏฏ์ (Karma or Action) วงจรกรรมเป็นกระบวนการกระทำหรือปรุงแต่งชีวิตให้เป็นไปต่าง ๆ ประกอบด้วยสังขารและกรรมภพ  3. วิบากหรือวิปากวัฏฏ์ (Results) วงจรวิบาก คือ สภาพชีวิตที่เป็นผลแห่งการปรุงแต่งของการกระทำและกลับเป็นปัจจัยเสริมสร้างให้เกิดกิเลสต่อไปอีก ประกอบด้วยวิญญาณ นามรูป สาฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ซึ่งแสดงออกในรูปปรากฏที่เรียกว่า อุปัตติภพ ชาติ ชรา มรณะ เป็นต้น 

พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การบริโภคอาหารจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ทำให้ประชาชนในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองและบุคคลภายในครอบครัว แต่ละครอบครัวจะต้องต่อสู้กับชีวิตและความเป็นอยู่ภายในครอบครัวให้มีความเป็นอยู่ที่ดี แต่บางครอบครัวอาจขาดการดูแลเอาใจใส่ตนเองและบุคคลภายในครอบครัว เพราะเนื่องจากต้องออกหางาน ทำงานแข่งกับเวลา เพื่อหาเงินมาเลี้ยงบุคคลภายในครอบครัว ทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพตนเอง ทำให้ตนเองมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง เช่น การบริโภคอาหารสำเร็จรูป การบริโภคอาหารไม่ครบ 5 หมู่ บริโภคอาหารมากเกินไป และไม่รับประทานอาหารเป็นเวลา ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ที่สามารถป้องกันได้ เช่น โรคกระเพาะอาหาร โรคขาดสารอาหาร โรคอ้วน โรคภาวะโภชนาการเกิน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น

พฤติกกรมการบริโภคอาหาร 1 พฤติกกรมการบริโภคอาหาร 1. อดอาหารบางมื้อ เด็กวัยรุ่นเป็นห่วงรูปร่างมากกว่าอย่างอื่น โดยเฉพาะเด็กหญิงกลัวความ อ้วน หรือน้ำหนักมากเกินไปทำให้รูปร่างไม่สวย จึงมักแก้ปัญหาโดยการอดอาหาร 2. นิสัยการบริโภคไม่ดี เนื่องจากกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในด้านการศึกษาและสังคม ทำให้ไม่ค่อย ได้บริโภคอาหารที่บ้าน นิสัยการบริโภคอาจเปลี่ยนแปลงตามเพื่อนมากกว่าบิดามารดา 3. เบื่ออาหาร เป็นปัญหาที่พบมากในเด็กวัยรุ่น ถ้ามีเหตุทำให้กระทบกระเทือนทางจิตใจ หรือ อารมณ์ถูกรบกวน เช่น ผิดหวังเสียใจในเรื่องต่าง ๆ ก็เป็นเหตุให้เบื่ออาหาร หรือไม่อยากอาหารได้ เป็นต้น 4. ชอบบริโภคอาหารจุบจิบ คือ บริโภคอาหารตามมื้อแล้วไม่เพียงพอ ยังบริโภคอาหาร ระหว่างมื้ออีกด้วย ซึ่งทำให้บริโภคอาหารมากกว่าที่ควร ซึ่งทำให้เกิดโรคอ้วน โรคฟันผุ 5. ความเชื่อผิด ๆ ในเรื่องอาหาร เด็กวัยรุ่นมักจะหลงเชื่อและบริโภคอาหารที่โฆษณาว่ามีคุณค่าต่าง ๆ เช่น ลดความอ้วนได้

4.2 อาหารที่เหมาะสมสำหรับวัยรุ่น  วิตามินและสารอาหารสำหรับวัยรุ่น เสริมสติปัญญาและสายตาและสุขภาพของวัยรุ่น ให้มีพัฒนาการที่ดี สมองของเด็กหลังคลอดทั่วโลกจะมีรูปแบบเหมือนกัน โดยแบ่งเป็น 2 ซีก คือสมองซีกขวา ซึ่งเป็นส่วนของจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์สามารถพัฒนาได้มากในช่วงวัย 4-7 ปี ส่วนของการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล จะพัฒนาในช่วง 9-12 ปี และสมองทั้งสองด้านจะเจริญเติบโตเต็มที่เมื่อเด็กอายุ 11-13 ปี แต่สิ่งที่กำหนดให้เด็กมีไอคิวต่างกัน คือ วิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ การอบรมการเลี้ยงดู เซลล์สมองที่ไม่ได้เชื่อมโยงกันจะถูกทำลาย ซึ่งประสิทธิภาพของสมองนั้นก็จะขาดหายไป เช่น การคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อย่างเช่น คนไทยสมองส่วนนี้จะหดหายไป

ปัจจัยที่มีผลต่อสมอง ปัจจัยที่ทำให้สมองเจริญเติบโตดีสำหรับกลุ่มวัยรุ่น ได้แก่ 1.การได้ทำกิจกรรมกลุ่ม เข้าร่วมสังคม 2.ช่วยเหลือตัวเองตามวัย ได้ทำหรือเรียนสิ่งที่ชอบ 3.ได้รับคำชมเชย ความรักจากพ่อแม่/ผู้ใกล้ชิด 4.ศิลปะ ดนตรี กีฬา ออกกำลังกาย ร้องเพลงตามความชอบและอิสระไม่ใช่ท่องทฤษฎี 5.มองตนเองในแง่บวก 6.ได้จินตนาการ เช่นฟังนิทาน 7.เป็นคนยืดหยุ่น 8.ได้รับอาหารครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะ ปลา ถั่วเหลือง ธาตุเหล็ก ไอโอดีน วิตามินบี 9.ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม สร้างกระบวนการคิดมากกว่าเน้นความจำ 10.ออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง

สรุป เมื่อสติลดกิเลศก็จะทำให้การบริโภคอาหาร ของวัยรุ่นที่ดีขึ้นและทำให้ร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัย

ที่มา http://www. nmt. ac. th/product/web/1/food. html และ http://www ที่มา http://www.nmt.ac.th/product/web/1/food.html และ http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=dharma&month=13-01-2006&group=3&gblog=5