ระบบการสื่อสารข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล.
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา COM 3701 ระบบการสื่อสารข้อมูล
Telecom. & Data Communications
( Code Division Multiple Access)
SMTP.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ตริตราภรณ์ วงค์กิติ เลขที่ 14 ด. ญ. ปิยกานต์ กุนราชา เลขที่ 19.
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ช. กิตติพงษ์ ตากาศ เลขที่ 7 ม.1/8 ด. ช. สุริยะกูล ทวีสุข เลขที่ 6 ม.1/8.
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการสื่อสารข้อมูล www.krusorndee.net/group/krujindawan ระบบการสื่อสารข้อมูล

ระบบการสื่อสารข้อมูล 1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) 2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) 3. ข้อมูล (Data) 4. สื่อนำข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium) 5. โพลโทคอล (Protocol)

1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์

2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาจากผู้ส่ง ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่นเดียวกับผู้ส่งข้อมูล

3. ข้อมูล (Data) คือ สิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ ซึ่งข้อมูลอาจจะเป็นข้อความ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว

4. สื่อนำข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการนำข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น คน อากาศ และสายเคเบิล

5. โพลโทคอล (Protocol) คือ กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือวิธีการในการสื่อสารข้อมูลซึ่งผู้ส่งและผู้รับจะต้องตกลงวิธีการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน เพื่อที่จะส่งและรับข้อมูลได้ถูกต้อง

การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน ทิศทางการสื่อสาร การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน

การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) ผู้ส่งข้อมูลทำหน้าที่ส่งแต่เพียงผู้เดียว ผู้รับทำหน้าที่รับแต่เพียงอย่างเดียว สื่อนำข้อมูลมักมีคุณสมบัติในการเก็บบันทึกข้อมูลไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง ข้อดี ไม่มีข้อจำกัดทางด้านเวลา ข้อเสีย ผู้รับข้อมูลอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ส่งไป และผู้ส่งข้อมูลไม่ทราบว่าผู้รับได้รับข้อมูลนั้นหรือไม่ ตัวอย่าง วิทยุ โทรทัศน์ ประกาศ จดหมาย e-mail ข้อความ การดูหนัง ฟังเพลง ฟังประกาศ อ่านหนังสือต่าง ๆ

การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) ผู้สื่อสารจะผลัดกันเป็นผู้รับและผู้ส่งข้อมูล โดยในขณะที่มีการสื่อสารข้อมูล ผู้รับข้อมูลจะต้องรอให้ผู้ส่งข้อมูลส่งเสร็จก่อนจึงจะสามารถส่งข้อมูลกลับได้ จึงมักมีคำพูดท้ายข้อมูลว่าจบการส่งข้อมูล นิยมใช้เป็นการสื่อสารเฉพาะกลุ่ม เช่น วิทยุสื่อสาร วอ. ของ ตำรวจ ทหาร และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ในปัจจุบันไม่นิยมใช้การสื่อสารประเภทนี้เนื่องจากยุ่งยากและมีเทคโนโลยีอื่นที่สะดวกกว่า

การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission) พัฒนาจากสองทิศทางสลับกัน ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายหนึ่งส่งข้อมูลให้เสร็จก่อน เป็นรูปแบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เนื่องจากผู้สื่อสารสามารถตรวจสอบผลลัพธ์จากการสื่อสารข้อมูลได้ทันที ตัวอย่าง การสนทนาโดยตรง สนทนาผ่านโทรศัพท์ แชทผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

ชนิดของสัญญาณ สัญญาณแอนะล๊อค Analog Signal ลักษณะสัญญาณเป็นรูปคลื่น แทนสัญลักษณ์ด้วยรูปกราฟคลื่นไซน์ ซึ่งมีความความถี่เท่ากับจำนวนรอบของคลื่นที่เคลื่อนที่ในหนึ่งวินาที เช่น คลื่นความถี่ 104.5 เมกะเฮิร์ต หมายถึง ค่าของสัญญาณเสียงที่ถูกแปลงเป็นสัญญาณแอนาล๊อค 104.5 ล้านรอบใน 1 วินาที ข้อเสีย คือ สัญญาณจะถูกรบกวนได้ง่าย ถ้าส่งข้อมูลไปไกล ๆ สัญญาณจะอ่อนลงและมีสัญญาณรบกวน เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ และสัญญาณเสียงที่ส่งจากสถานีวิทยุ

สัญญาณดิจิทัล สัญญาณดิจิทัล (Digital signal) เป็นสัญญาณไม่ต่อเนื่องในรูปแบบกราฟสี่เหลี่ยม สัญญานมีการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ปะติดปะต่อ การส่งข้อมูลจะต้องแปลงให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลหรือ 0 และ 1 ก่อนแล้วจึงแปลงให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณอีกทีหนึ่ง สัญญาณดิจิทัลคุณภาพและความแม่นยำมากกว่าสัญญาณแอนาล๊อค การส่งสัญญาณทางไกลจะต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณรีพีทเตอร์ เพื่อกรองเอาสัญญาณรบกวน