แมลงกินได้ Edible insects

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
เอกสารเคมี Chemistry Literature
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Cryptoleamus montrouzieri
Fungi on Lizard : a Hazard in Your Home
การควบคุมปลวกโดยชีววิธีด้วยการใช้เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae Metschnikoff Biological Control of Termites by Using the Green Muscardine Fungus.
การดึงดูดเพลี้ยไฟของกับดักกาวเหนียวสี Attractiveness of thrips to colored sticky trap NR.
A wonderful of Bioluminescence
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติของยุง
ผลต่อการดูดเลือดและการไล่ยุงของ สารสกัดเมล็ดสะเดา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
(FUNGUS-FARMING INSECTS)
สัมมนา ผลกระทบของสารฆ่าแมลงต่อศัตรูธรรมชาติ
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
สบู่สมุนไพร.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา

ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
การลดภาษีของออสเตรเลีย
การกระตุ้นให้ มัลเบอร์รี่ ( หม่อนพันธุ์ลูกดก ) ออกผล
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
Story board.
Story board.
ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปแอฟริกา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
Story board.
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
Biomes of the World.
โภชนาการ สำหรับผู้ป่วยโรคเก๊าท์
แนวคิดและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
กินตามกรุ๊ปเลือด.
Story board.
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
หลักการเลือกซื้ออาหาร
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
อาหารไทย.
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แมลงกินได้ Edible insects NR. แมลงกินได้ Edible insects

NR.

ตารางที่ 1 ชนิดของแมลงที่มีการบริโภคทั่วโลก NR. ตารางที่ 1 ชนิดของแมลงที่มีการบริโภคทั่วโลก จำแนกตาม Order จำนวน Species Coleoptera 344 Hymenoptera 313 Lepidoptera 235 Orthoptera 209 Hemiptera 92 Isoptera 39 Blattodea 30 Odonata 20 Ephemeroptera 7 Mecoptera 4 Phthiraptera 3 Diptera ดัดแปลงจาก: Ramos-Elorduy (1998)

ตารางที่ 2 จำนวนผู้บริโภคแมลงในแต่ละทวีป NR. ตารางที่ 2 จำนวนผู้บริโภคแมลงในแต่ละทวีป Continent # of species recorded % of total # of entomophagous countries Africa 527 36.0 36 31.9 America 573 39.2 23 20.1 Asia 249 17.0 29 25.7 Australia 86 5.9 14 12.5 Europe 27 1.9 11 9.7 Total 1,462 (some occur on >1 continent) 100.0 113 ที่มา: Ramos-Elorduy (1998)

ตารางที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการใน 100 กรัมของแมลงเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์ NR. ตารางที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการใน 100 กรัมของแมลงเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์ สารอาหาร จิ้งหรีด เนื้อสัตว์ พลังงาน 121calories 288.2 calories โปรตีน 12.90 gm protein 23.50 gm ไขมัน 5.50 gm of fat 21.20 gm of fat แคลเซียม 75.80 mg - ฟอสฟอรัส 185.30 mg เหล็ก 9.50 mg B1 (thiamin) 0.36 mg B2 (riboflavin) 1.09 mg ไอนาซิน 3.10 mg คาร์โบไฮเดรต 5.10 gm ที่มา : ดร. องุ่น ลิ่ววานิช (มปป, อ้างถึงใน สุรเชษฐ จามรมาน และคณะ, มปป.)

NR. มนุษย์บริโภคแมลงเป็นอาหารจากสมัยก่อนจนถึงปัจจุบันน่าจะมาจากวัฒนธรรมการบริโภค และภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดต่อกันมาตามสภาวะเศรษฐกิจ หรือเพื่อหาแหล่งอาหารที่อุดมไปด้วยคุณค่ามาทดแทนเนื้อสัตว์ที่มีราคาแพง เนื่องจากแมลงหาง่าย และอาจมาจากความติดใจในรสชาติที่อร่อย

พฤติกรรมการบริโภคแมลงของประเทศต่างๆ NR.  พฤติกรรมการบริโภคแมลงของประเทศต่างๆ

อเมริกา ผัด 1. จิ้งหรีด 2. ตัวอ่อนของมด คุกกี้ช็อกโกแลตชิพ 1. จิ้งหรีด 2. ตัวอ่อนของมด ทำแป้งจากแมลง ผัด

ตัวอ่อนแมลงน้ำ ตัวอ่อนของต่อ ตั๊กแตน เอเชีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บาหลี ตัวอ่อนแมลงน้ำ ตัวอ่อนของต่อ ตั๊กแตน June beetle แมลงปอ

รูปที่ 2. inago ที่มา : http://www.chinjuh.mydns.jp/hakutu/kuirejo/inago01e.jpg รูปที่ 1. zaza –mushi ที่มา : http://www.zazamushi.com/zaza/images/zaza2./JPG รูปที่ 3. June beetles ที่มา : http://www.ivyhall.district96.k12.il.us/4th/kkhp/1insects/junebeetle.html

ออสเตรเลีย รูปที่ 4. มดแดง Oecophylla ที่มา : http://frc.forest.ku.ac.th/GAME/project4/envi/climatic/126.jpg รูปที่ 5. Bogong ที่มา : http://www.abc.net.au/reslib/200704/r138765_474467.jpg

ออสเตรเลีย (ต่อ) รูปที่ 6. ตัวหนอน witchety ที่มา : http://www.travel-images.com/view.shtml?australia239.jpg รูปที่ 7. มด honey pot ที่มา : http://lis.epfl.ch/research/projects/EvoAnts/

แอฟริกา ไนจีเรีย รูปที่ 8. ราชินีปลวก ที่มา : http://www.baanjomyut.com/library/calendar/wonderful_world/02.jpg ไนจีเรีย รูปที่ 9. Cirina forda westwood larva ที่มา : http://www.eat-online.net/english/education/insect_snacks.htm

อเมริกาใต้ รูปที่ 10. โคลัมเบีย มดยักษ์ (Hormigas culonas) ที่มา : http://img249.imageshack.us/img249/2245/p1030181br8.jpg รูปที่ 11. เม็กซิโกมีมด (Atta cephalotes) ที่มา : http://bio.kuleuven.be/ento/photo_gallery.htm

เอกวาดอร์ อเมริกาใต้ ( ต่อ) รูปที่ 12. ด้วงสีขาว (Scarabaeidae : Cyclocephala) ที่มา : http://www.fsca-dpi.org/FloridaInsectGallery/images/maskedchafer.jpg รูปที่ 13. Lemon ants ที่มา : http://bugguide.net/node/view/35553/bgpage

NR. นอกจากนั้นก็ยังมีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับแมลงกินได้ทางอินเตอร์เน็ต

NR. ตารางที่ 4 ปริมาณคอเลสเตอรอล  และกรดไขมันของแมลงที่กินได้ในน้ำหนักส่วนที่รับประทานได้ 100  กรัม แมลง Chol(**) (mg) Fat (g) SFA MUFA PUFA (% fatty  acid) จิ้งโกร่ง ND 12.0 35.02 32.34 29.56 จิ้งหรีด 105 6.0 36.45 30.12 31.14 ดักแด้ไหม 8.3 70.36 19.81 9.35 ตั๊กแตนปาทังก้า 66 4.7 31.06 28.75 39.32 ตัวอ่อนของต่อ 6.8 45.98 40.39 12.64 แมลงกินูน 56 1.8 33.33 30.02 32.36 แมงป่อง 97 2.3 28.99 43.30 20.98 หนอนไม้ไผ่ 34 20.4 48.71 46.86 2.86 **      = Cholesterol ND = Not Detected ที่มา: นันทยา  และคณะ ( มปป.)

อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ N อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ แมลงน้ำ พยาธิใบไม้ลำไส้ตัวเล็กชนิด   Phaneropsolus bonei และ Prosthodendium molenkampi ด้วงและแมลงปีกแข็ง ที่อาศัยตามกองมูลควายGongylonema,  Macracanthorhynchus hirudinaceus pallas และ Raillientin cesticillus 

อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ(ต่อ) NR. อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ(ต่อ) แมลงกินูน หรือแมลงเหนี่ยง  พาหะนำเชื้อ Macracanthorhynchus hirudinaceus  จิ้งหรีด พาหะนำเชื้อพยาธิตัวกลมชนิด Physaloptera caucasica Linstow  

เลือกบริโภคแมลงอย่างไรจึงจะปลอดภัย NR. เลือกบริโภคแมลงอย่างไรจึงจะปลอดภัย เป็นแมลงที่เป็นที่รู้จักและนำมาบริโภคได้ เป็นแมลงที่จับมาขณะยังมี่ชีวิตอยู่ ควรจะหลีกเลี่ยงแมลงที่เป็นศัตรูภายในบ้านที่เป็นพาหะของโรค ต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงแมลงที่มีสีสันสดใส ปีก ขน ขา หรือ หนามแข็งของแมลง ควรจะเด็ดทิ้งก่อนนำไป บริโภค ควรจะปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทานเสมอ

ตารางที่ 5 ปริมาณไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวินในแมลงแต่ละชนิด NR. ตารางที่ 5 ปริมาณไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวินในแมลงแต่ละชนิด ชื่อของแมง ไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวิน สด ปรุงเป็นอาหาร จิ้งหรีด จิหล่อ แมลงกระชอน 0.541 0.19 trace แมลงตับเต่า แมลงเหนี่ยง 0.211 0.124 แมลงกินูนเขียว 0.137 แมลงกินูนขาว แมลงกินูนดำ 0.075 0.032 แมลงกินูนเล็ก กุดจี่ใหญ่ 0.302 0.174 กุดจี่ 0.361 0.196 0 = วัดค่าไม่ได้ Trace = น้อยกว่า 0.3 ppm. ที่มา: อุษา กลิ่นหอม และคณะ (2528)

NR. สรุป การบริโภคแมลงในแต่ละภูมิภาคทั่วโลกมีความหลากหลายและแตกต่างกัน ปัจจัยหลักของการบริโภคแมลงคือความต้องการแหล่งอาหารประเภทโปรตีน โดยจากการศึกษาหาโปรตีนในแมลงชนิดต่างๆ พบว่าแมลงมีปริมาณของโปรตีนเทียบเท่ากับเนื้อสัตว์ จึงสามารถนำแมลงมาทดแทนอาหารประเภทเนื้อชนิดอื่นๆได้ ทำให้มนุษย์ที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลและขาดแคลนแหล่งสารอาหารโปรตีนมีทางเลือกทางใหม่ที่สามารถหาได้จากท้องถิ่นและมีราคาถูก แต่เพื่อการยกระดับแมลงให้เป็นอาหารที่เทียบเท่ากับเนื้อสัตว์ได้อย่างสมบูรณ์นั้น ผู้บริโภคจะต้องมีความเอาใจใส่ในเรื่องของความสะอาดและการปรุงให้สุกก่อนจะนำมารับประทาน เพื่อทำให้สารเคมีหรือปาราสิตที่มีอยู่ในแมลงลดลง ทำให้ได้รับสารอาหารจากแมลงเต็มที่ และมีความปลอดภัยอีกด้วย

นางสาวศิริกาญจน์ เพ็ชรจำรัส 4740242 อาจารย์ที่ปรึกษา NR. โดย นางสาวศิริกาญจน์ เพ็ชรจำรัส 4740242 อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2