ข้อมูล และ หน่วยงาน วิจัยเชิงระบบและนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
Advertisements

การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การบริหารทรัพยากรของกองทัพเรือ
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
Health System Reform.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูล และ หน่วยงาน วิจัยเชิงระบบและนโยบาย กำหนดกรอบแนวคิด ในงานวิจัยเชิงระบบและเชิงนโยบาย ข้อมูล และ หน่วยงาน วิจัยเชิงระบบและนโยบาย วีระศักดิ์ พุทธาศรี สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ 21 ธันวาคม 2553

เนื้อหาการนำเสนอ ความหมายและขอบเขต ประเภทและลักษณะงานวิจัย หน่วยงานวิจัยระบบสุขภาพและนโยบาย

ความหมายและขอบเขตของ งานวิจัยระบบสุขภาพและนโยบาย

IDRC, 1991 defined "ultimately concerned with improving the health of people and communities by enhancing the efficiency and effectiveness of the health system as an integral part of the overall process of socio-economic development" WHO, 2007 "all activities whose purpose it is to restore and maintain health" which lends itself to the definition of health systems research as being those investigations that seek to evaluate or promote coverage, quality, efficacy and efficiency within the health system WHO, 2007 developed a framework for action based upon six building blocks of a health system: Service Delivery, Information and Evidence, Medical Products and Technologies, Health Workforce, Health Financing and Leadership and Governance AHSPR, 2007 research should be considered downstream, and should look at "policies, organizations and programs, but does not address clinical management of patients or basic scientific research"

การวิจัยระบบสาธารณสุข (Health System Research) เป็นการวิจัย การนำเอาเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาใช้ในระดับสาธารณสุขมูลฐาน และในระบบการส่งต่อ นอกจากนี้ ยังเกี่ยวกับ การจัดโครงสร้างของระบบสาธารณสุข ตลอดจนกลไกความร่วมมือ และการวิจัยบริการสาธารณสุข (health service research) ด้วย การวิจัยนโยบายสาธารณสุข (Health Policy Research) เป็นการวิจัย ที่มุ่งเน้นทางด้าน นโยบายสุขภาพโดยเฉพาะ ช่วยในการกำหนดแนวทาง และ ปรับปรุง นโยบายให้เหมาะสมกับการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศ (ธวัชชัย วรพงศธร 2543)

Health Services Research Multidisciplinary field studies how social factors, financing systems, organizational structures and processes, health technologies, and personal behaviors affect access to health care, the quality and cost of health care, and quantity and quality of life. Studies in health services research examine outcomes at the individual, family, organizational, institutional, community, and population level. HSR studies examine how people get access to health care, how much care costs, and what happens to patients as a result of this care. Health services researchers come from a variety of specializations, including economics, political science, epidemiology, public health, medicine, biostatistics, operations, management, and psychology.

การจัดทำ Prioritize Criteria (Global Forum for Health Research 2003) ตัวอย่าง Multidisciplinary work การจัดทำ Prioritize Criteria (Global Forum for Health Research 2003) Burden of disease, Analysis of determinants, Cost- effectiveness of interventions, Effect on equity and social justice, political, social, cultural acceptability Probability of finding a solution Scientific quality of research proposed Feasibility Contribution to capacity strengthening

กระบวนการสร้างนโยบาย เป็นกระบวนการที่เป็นเครือข่ายแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งต้องมี data, idea และ argument

Health Policy and Systems Research (HPSR) เป็นผลผลิตองค์ความรู้ และการประยุกต์ใช้ เพื่อยกระดับสุขภาพ รวมถึงการวางแผน การจัดการ การเงินการคลัง ซึ่งจะสนับสนุนการสร้างนโยบายสุขภาพที่ยั่งยืนให้มีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ ดังนั้น การวิจัยนโยบายสุขภาพ จึงเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งนโยบายทางสังคม นโยบายเศรษฐกิจ ที่กระทบกับนโยบาย และ โครงสร้างระบบสุขภาพด้วย (Baris 1998)

ระบบวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพที่ดี (COHRED 2001) Knowledge สร้างและการจัดการ ข้อมูลข่าวสาร ที่จะเป็นแนวคิด ของกลวิธี ในการดำเนินการ Stewardship เป็นการสร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยน สร้างเครือข่าย (dialogue and networking) ของกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง Financing การจัดสรร บริหารทรัพยากร งบประมาณ เพื่อการวิจัย Capacity development ทั้งศักยภาพการทำวิจัย การบริการจัดการ การเงินการคลัง การผลักดันงานวิจัยสู่การสร้างเป็นนโยบาย การประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง การเป็นผู้นำและชี้นำในทางที่ถูกต้องได้

ประเภทและลักษณะงานวิจัย

Research Design ประเภทงานวิจัยที่จะเข้ามาเกี่ยวข้อง ขึ้นกับสภาพปัญหาคงอยู่ เช่น ถ้าขาดความรู้ (knowledge) ต้องการงาน analytical/strategic research ถ้าขาดเครื่องมือที่เหมาะสมของการจัดสรรทรัพยากร (resource allocation) ต้องการงานวิจัย ประเภท applied/developmental research ถ้าขาดประสิทธิภาพของเครื่องมือและรูปแบบที่เป็นอยู่ปัจจุบัน (Inefficient use of existing tools) ต้องการงานวิจัยลักษณะ Operational research

วงจรการวางแผนแบบดั้งเดิม (Conventional Model) Research for Policy ประเมินผล (Evaluation) วางแผนและนโยบาย (Planning & Policy) ติดตาม (Monitoring) ปฏิบัติการ (Actions)

System and Policy Research Characteristic Research question relevant to policy question Timeliness Sound scientific methods Comprehensive knowledge management

หน่วยงานวิจัยระบบสุขภาพและนโยบาย

1 HSRI : Health System Research Institute สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข HSRI : Health System Research Institute สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ.2535 โดยมีโครงสร้างองค์กรและการบริหารงาน เน้นความคล่องตัว เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การพัฒนาระบบสุขภาพ (Better Knowledge Management for Better Health Systems)

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 1 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข HSRI : แผนงานวิจัย แผนงาน R2R แผนงานระบบบริการ แผนงาน Health Exam แผนงานกระจายอำนาจ แผนงานผู้สูงอายุ แผนงานระบบสื่อสารสุขภาพ แผนงานธรรมาภิบาล แผนงานการเงินการคลัง แผนงานสิ่งแวดล้อม สวรส. : สถาบันวิจัยระบบสุขภาพ

2 IHPP : International Health Policy Program สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ IHPP : International Health Policy Program International Health Policy Program (IHPP) since 2001 หน่วยงานภายใต้สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ International Health Policy Program Foundation พันธกิจองค์กร ประกอบด้วย วิจัยนโยบายและระบบสุขภาพที่สำคัญและสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของประเทศและสากล ผลักดันการตัดสินใจทางนโยบาย โดยใช้หลักฐานทางวิชาการ พัฒนาความเข้มแข็งของนักวิจัยด้านนโยบายและระบบสุขภาพ

IHPP RESEARCH CLUSTERS Administrative and Central Supply Health Care Financing Burden of Diseases Health Policy Human Resources for Health Health System & EID Health Promotion Center of Alcohol Study Health Equity IHPP Global Trade & Health

3 HITAP : Health Intervention and Technology Assessment Program โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ HITAP : Health Intervention and Technology Assessment Program พันธกิจ ประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากล พัฒนาระบบ กลไก และเครือข่ายการประเมินเพื่อสนับสนุนให้เกิดการคัดเลือก จัดหา และบริหารจัดการเทคโนโลยี รวมถึงการกำหนดนโยบายด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม ดำเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้สู่สาธารณะเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากการประเมิน

3 HITAP : Health Intervention and Technology Assessment Program โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ HITAP : Health Intervention and Technology Assessment Program ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การวิจัยและพัฒนาฐานรากของการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถด้านการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายในระดับบุคคล องค์กร และบริบทของระบบสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการความรู้เพื่อเชื่อมโยงผลงานวิจัยไปสู่นโยบายและการปฏิบัติของผู้ประกอบวิชาชีพและสาธารณชน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริหารจัดการภายใน HITAP จัดตั้งและพัฒนาเครือข่ายของนักวิชาการและองค์กรวิจัยที่ทำการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพในประเทศไทย HITAP

4 HISRO : health insurance system research office พันธกิจ สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย HISRO : health insurance system research office พันธกิจ พัฒนาระบบข้อมูลและติดตามระบบหลักประกันสุขภาพและการคลังระบบสาธารณสุข เพื่อสะท้อนกับข้อมูล System Governance วิจัยพัฒนากลไกระบบย่อยหลักประกันสุขภาพและการคลังระบบสาธารณสุขของประเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นธรรม สวปก.

สพช. : health insurance system research office 5 สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สพช. : health insurance system research office พัฒนาและวิจัยงานปฐมภูมิ สพช.

แหล่งข้อมูลวิจัยระบบสุขภาพและนโยบายอื่นๆ AIHD สถาบันการพัฒนาสุขภาพอาเซียน IPSR สถาบันวิจัยประชากร มหาวิทยาลัยต่างๆ วารสารวิชาการสาธารณสุข Pubmed BMC : Health Policy and Research Systems