การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ทิศทางในการดำเนินงานของห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา การดำเนินงานวิจัย พัฒนาและบริการวิชาการด้าน ไวรัสวิทยา โดยมุ่งเน้นศึกษาไวรัสที่เป็นปัญหาทางด้าน สาธารณสุขของประเทศ.
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
Papaya Ring Spot Virus (Potyviridae) จัดทำโดย
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด

ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
************************************************
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ค้างคาว เชื้อไวรัส น.สพ.พิพล สุขสายไทยชะนะ นายสัตวแพทย์เชี่ยวชาญ
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
Nipah virus.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทรศัพท์ 0 7428 6227 โทรสาร 0 7446 5102 www.aahrc.psu.ac.th

Aquatic Animal Health Research Center

ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552 โครงการตรวจวิเคราะห์สุขภาพสัตว์น้ำ ตัวอย่างน้ำในดิน และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552

รายการที่ให้บริการวิชาการ ตรวจวิเคราะห์ฟรี ตรวจเชื้อแบคทีเรียด้วยวิธีเพาะเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ ตรวจเชื้อไวรัสด้วยวิธีการทางชีวโมเลกุล ตรวจวิเคราห์ทางด้านระบบภูมิคุ้มกันสัตว์น้ำ เตรียมตัวอย่างทางด้านเนื้อเยื่อวิทยา บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ใช้เครื่องด้วยตนเอง

ประเภทของผู้ขอรับบริการ ช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2552

ชนิดของตัวอย่าง

สรุปข้อมูลของบริการวิเคราะห์ตัวอย่าง 29 28 67

จำนวนผู้รับบริการ

จำนวนเงินค่าบริการ (บาท)

ขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ รับตัวอย่าง กรอกรายละเอียด ชำระค่าบริการ ตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ - พยาธิภายนอก (1 วัน) - แบคทีเรีย (2 วัน) - ไวรัส (2-3 วัน) แจ้งผลและออกใบรับรอง (1 วัน)

ตารางที่ 1 แบบฟอร์มการตรวจลูกกุ้ง

ตารางที่ 2 แบบฟอร์มการตรวจกุ้ง

การทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)

เป้าหมาย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ จากวิธีการที่ห้องปฎิบัติการของหน่วยงานของตนเองใช้อยู่กับผลการทดสอบที่ได้จากหน่ายงานอื่น ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาวิธีการทดสอบที่ใช้อยู่ให้มีความถูกต้องและเชื่อถือได้

ห้องปฎิบัติการที่เข้าร่วม (Participants) ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่

โรคติดเชื้อไวรัสในกุ้งทะเล White Spot Syndrome Virus Yellow Head Virus IHHNV Taura Syndrome Virus

วิธีการทดสอบ (Methodology) หน่วยงาน วิธีการสกัดตัวอย่าง PCR method DNA virus WSSV/IHHNV RNA virus YHV/TSV ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ DNA Zol Reagent Trizol ® In house method สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่

รายละเอียดตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบ ชุดที่ รหัสตัวอย่าง เนื้อเยื่อที่ใช้ WSSV IHHNV YHV TSV 1 A B C D E F เหงือก + - 2 G H I J K L

ผลการทดสอบและผลการประเมิน (Results) หน่วยงาน รหัสตัวอย่าง วันที่รับตัวอย่าง สภาพตัวอย่าง วันที่ทดสอบ ผลการทดสอบ ผลประเมิน WSSV IHHNV YHV TSV ศูนย์วิจัยสุขภาพสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ A F K L 9 เม.ย 51 ปกติ แช่แข็ง 10 เม.ย 51 + nt - ผ่าน สถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ำชายฝั่ง E H 10-11 เม.ย 51 ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งระโนด B J ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งภูเก็ต D G ศูนย์วิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งกระบี่ C I

สรุป (Conclusion) ห้องปฎิบัติการของทุกหน่วยงานที่เข้าร่วมเปรียบเทียบผลการทดสอบในครั้งนี้ได้ผลการทดสอบที่เหมือนกัน และถูกต้องตรงตามที่กำหนดในขั้นตอนของการเตรียมตัวอย่าง แสดงให้เห็นว่าห้องปฎิบัติการที่ทดสอบเชื้อไวรัสในกุ้งทะเลทั้ง 4 ชนิด ที่เข้าร่วมในการดำเนินการครั้งนี้มีมาตรฐานที่เชื่อถือได้

อัตราส่วนลำไส้ต่อกล้ามเนื้อลำตัวลูกกุ้ง Midgut Muscle Ratio (MGR) 4 ส่วน 1 ส่วน อัตราส่วนลำไส้ต่อกล้ามเนื้อลำตัวลูกกุ้ง Midgut Muscle Ratio (MGR)

occlusion bodies ของเชื้อไวรัสเอ็มบีวี ตรวจการติดเชื้อไวรัสเอ็มบีวี (monodon baculovirus: MBV) occlusion bodies ของเชื้อไวรัสเอ็มบีวี

Zoothamnium sp.) Epistylis sp. Acineta sp.

โรคตัวแดงดวงขาว (WSSV) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส (SEMBV: Systemic Ectidermal & Mesodermal Baculovirus) รูปร่างเชื้อเป็นแท่งความยาว 270 -300 นาโนเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 110 - 125 นาโนเมตร เชื้อไวรัสสามารถทำลาย เนื้อเยื่อผิวใต้เปลือก เหงือก อวัยวะสร้างเม็ดเลือด เม็ดเลือด ต่อมน้ำเหลือง อาการ : ผิวใต้เปลือกกุ้งตลอดทั้งตัวมีสีแดงเรื่อๆ ชมพู ถึงเข้ม บางครั้ง จะพบออกเป็นสีส้ม และ พบจุดขาวขนาด 0.1-2 มิลลิเมตร ใต้เปลือกบริเวณส่วนหัวและตัว กุ้งที่เป็นโรค จะว่ายอยู่ผิวน้ำ เกยขอบบ่อ อ่อนแอ กินอาหารลดลง ลอกคราบไม่ออก ตัวนิ่ม ระดับความรุนแรง : อัตราการตาย 80-100 % ภายใน 4-10 วัน หลังจากแสดงอาการ

อัตราการตาย 80-100% หลังแสดงอาการ 5-7 วัน โรคหัวเหลือง (YHV) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัสวายเอชวี (YHV: Yellow-head baculovirus) ซึ่งมีความยาว 150 - 200 นาโนเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 45 -50 นาโนเมตร สามารถติดเชื้อได้ทั้งบริเวณเหงือก ต่อมน้ำเหลือง อวัยวะสร้างเม็ดเลือดและเม็ดเลือด อาการ : กุ้งที่เป็นโรคจะมีอาการตัวซีด เหงือกและตับอ่อนเหลืองอย่างชัดเจนกุ้งจะอ่อนเพลียมาเกยขอบบ่อ ไม่มีแรงดีดตัว และอัตราการตายของกุ้งสูงมากภายใน 3-4 วันแรก ระดับความรุนแรง : อัตราการตาย 80-100% หลังแสดงอาการ 5-7 วัน

โรคทอร่า (TSV) สาเหตุ : อาการ : ระดับความรุนแรง : ไวรัสทอร่า, RNA virus ชนิดสายเดี่ยว ไม่มีผนังหุ้ม (nonenveloped) รูปร่างหลายเหลี่ยม (Icosahedron) จัดอยู่ในกลุ่ม Pisconavirus (Brock et al., 1997) อาการ : ตัวสีแดง, เม็ดสีบริเวณเปลือกขยายใหญ่, พบเมลานินรูปร่างไม่แน่นอนกระจายอยู่ตามเปลือก, พบแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นในตับและตับอ่อน ระดับความรุนแรง : พบได้ 2 ลักษณะ คือ เฉียบพลันกุ้งจะตาย 70-80% และเรื้อรังโดยกุ้งจะตาย 15-20% ต่อรอบซึ่งในประเทศไทยพบในลักษณะเรื้อรังเป็นส่วนใหญ่