“ผลกระทบต่อไทยจากจีนในเศรษฐกิจโลก” วรากรณ์ สามโกเศศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ I คำนำ II ปัจจัยภายนอกกระทบสังคมไทย III จีนในเศรษฐกิจโลก
กฎทองของนักบริหาร 1. Murphy’s Law : ถ้าความผิดพลาดใด สามารถเกิดขึ้นได้ ข้อผิดพลาดนั้นจะเกิดขึ้น (If any thing can go wrong, it will go wrong) 2. Hofstadter’s Law : สิ่งต่าง ๆ จะใช้เวลามาก กว่าที่คุณคาดไว้เสมอ (Thing always take longer than you expect) 3. James’s Law : สำหรับ “ผู้ไม่เชื่อ” ไม่ว่าจะมี หลักฐานมากน้อยเพียงใดก็ไม่เชื่อ และสำหรับ “ผู้เชื่อ” หลักฐานเพียงเล็กน้อยเขาก็เชื่อ
II สิ่งแวดล้อมภายนอก สังคมไทย กระแสเศรษฐกิจเสรี การเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จีนและอินเดีย สังคมไทย กระแส instant gratification “สุขสมอย่างทันด่วน” กระแส education-massification Knowledge-based society ปรากฏการณ์ people-centered
กระแสเศรษฐกิจเสรี การล่มสลายของ USSR ใน 1991 และของโลกคอมมูนิสต์ หลายตัวอย่างของ NIC’s จากเส้นทางเศรษฐกิจเสรี ความก้าวหน้าด้านโทรคมนาคม ICT Internationalization ของ Financial System
กระแสความคิดและความเชื่อที่คล้อยไปตามกัน - เสรีภาพ - สิทธิสตรีและเด็ก - สิทธิมนุษยชน - สันติภาพ เศรษฐกิจไร้พรหมแดน (Borderless Economy) - แรงงาน - การค้า - ทุน - นักท่องเที่ยว โลกาภิวัตน์ หมู่บ้านโลก (Global Village) - เทคโนโลยี - การแต่งกาย - อาหาร - ศาสนา เศรษฐกิจแบบการค้าเสรี - วัตถุนิยม - บริโภคนิยม - ความสำคัญของ ภาคเอกชน - ความเป็นเอกชนใน กิจกรรมของรัฐ
สาเหตุของโลกาภิวัตน์ (1) การมีจำนวนเพิ่มขึ้นของ NIC’S ทั่วโลก/ การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่งเสริม การเติบโตของธุรกิจของบริษัทข้ามชาติ (2) การปฏิวัติด้านโทรคมนาคม/ความก้าวหน้า ของ information technology และคอมพิวเตอร์ /digital revolution (3) ความเป็นนานาชาติของระบบการเงินโลก (internationalization of financial system) (4) การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี 1991 การแพร่กระจายของทุนนิยม
Education-Massification อิทธิพลจากโลกาภิวัตน์ เศรษฐกิจเสรี การเป็น “สังคมฐานานุภาพ” ของสังคมไทย รัฐธรรมนูญ 2540 : Benchmark ใหม่ กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา
ความสำคัญของประชาชน “ประสิทธิภาพ” ของระบบทุนนิยม “ประสิทธิภาพ” ของระบบทุนนิยม บทเรียนจากระบบคอมมูนิสต์ สหภาพโซเวียตล่มสลาย กระแสความนิยมระบบเศรษฐกิจเสรี ความสำเร็จของ NIC’S โดยเส้นทางระบบทุนนิยม สังคมข่าวสารข้อมูล บทเรียนขมขื่นของทศวรรษ ‘60 และ ‘70 “ผู้บริโภคคือพระราชา” ความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสื่อสาร ความสำคัญของ “ประชาชน” สิทธิมนุษย์และประชาธิปไตย สิทธิสตรีและเด็ก ปรากฏการณ์ People-Centered EMPOWERMENT ของประชาชน กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เน้นบทบาทภาครัฐในการสนองตอบประชาชน PRIVATIZATION ความสำคัญของชุมชนและ NGO’S ระบบการค้าเสรี
การเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี Knowledge Revolution ในยุค 1960’S ในด้านโทรคมนาคม/Biotechnology/ด้าน คอมพิวเตอร์ IT Information Economy Bio - Economy
อดีต อนาคต ? เวลา ปัจจุบัน
คลื่นการเปลี่ยนแปลงของโลก ค.ศ. 1300 ค.ศ.1800 ค.ศ.1965 คลื่นลูกที่หนึ่ง (“เกษตรกรรม” สร้างความมั่งคั่ง) คลื่นลูกที่สอง (“อุตสาหกรรม” สร้างความมั่งคั่ง) คลื่นลูกที่สาม (“การปฏิวัติความรู้”) - คลื่นของการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเมื่อโลกมีการ เปลี่ยนแปลงระบบการสร้างความมั่งคั่ง (system of wealth creation)
- การปฏิวัติความรู้ (knowledge revolution) - คอมพิวเตอร์ - วิศวพันธุ์กรรมศาสตร์ (genetic engineering) - สื่อสารโทรคมนาคม - เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) - วิทยาศาสตร์การย่อส่วน (nanotechnology) - ความก้าวหน้าของความรู้ทางการแพทย์
(1) คอมพิวเตอร์ จุดเปลี่ยน 1959 : IC Chips (Texas Instruments) 1980 : P.C. 1987 : Computer Laptop (2) สื่อสารโทรคมนาคม จุดเปลี่ยน 1955 : Fiber Optics 1970 : Fiber Optic Wire
(3) IT หรือ ICT = Computer + โทรศัพท์ “Information Economy” (4) Genetic Engineering พบ DNA เมื่อ 50 ปีก่อน ตกแต่ง DNA เกิดเป็น GMO (Genetically Modified Organisms) Cloning = Copy DNA “Bio - Economy”
รู้ว่าแต่ละส่วนของ DNA เป็น คำสั่งให้ร่างกายใน ส่วนใดของร่างกายทำงาน ถอด Genome ทำแผนที่ DNA DNA
การตกแต่ง DNA GMO DNA กาแฟ DNA กาแฟที่ไม่มีคาเฟอีน คาเฟอีน ตัดทิ้งไป
INFORMATION ECONOMY BIOECONOMY 10,000 ปี ยุคปึกแผ่นและเสื่อม หลายแสนปี ยุคเติบโต สังคมเกษตร 1980 2000 2020 2030 ลำสัตว์และเก็บของป่า ปฏิวัติ อุตสาหกรรม 1760’S 1950’S BIOECONOMY ยุคฟักตัว ยุคเติบโต ยุคปึกแผ่น 1953 2000 2020 2030
กระแส Instant Gratification การแข่งขันภายใต้เศรษฐกิจเสรี Economy of Scale, Scope, Speed. ตลาดเอาใจ “คน” เพราะมีความสำคัญในเศรษฐกิจเสรี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นใจ ระบบการกู้ยืมสมัยใหม่ (โรค E และ Q)
Knowledge - Based Society Knowledge Production Knowledge Transmission Knowledge Transfer C (creation) E (education) M (management) U (usuage)
จีนและอินเดีย ขับรถบนถนน 2 สาย ขับรถบนถนน 2 สาย • กว้างโล่ง ไม่มีหลุมบ่อ แต่มีที่กั้นถนน ข้างหน้า • แคบ ขรุขระ แต่ไม่มีที่กั้นถนน ข้างหน้า
II จีนในเศรษฐกิจโลก ประชาชน # 1 จีน 1,300 ล้านคน # 1 จีน 1,300 ล้านคน # 2 อินเดีย 1,065 ล้านคน # 3 สหรัฐอเมริกา 294 ล้านคน # 4 อินโดนีเซีย 220 ล้านคน # 5 บราซิล 179 ล้านคน
ขนาดเศรษฐกิจ (วัดโดย GDP พันล้าน $) # 1 สหรัฐอเมริกา 10,950 # 2 ญี่ปุ่น 4,300 # 3 เยอรมัน 2,403 # 4 อังกฤษ 1,795 # 5 ฝรั่งเศส 1,758 # 6 อิตาลี 1,469 # 7 จีน 1,417 # 11 เกาหลีใต้ 605 # 12 อินเดีย 600
สังคม-เศรษฐกิจของจีน (1) ความสัมพันธ์ไทย-จีน • “ญาติ” ในวัฒนธรรมตะวันออก • อย่าดูแต่ตัวเลขเศรษฐกิจ (2) ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในประเทศ (3) ปัญหาการใช้พลังงาน (4) ปัญหาสิ่งแวดล้อม
(5) ปัญหาการปรับตัวของประชาชน (6) ทุนนิยม-สังคมนิยม? (7) ปัญหาการปกครองดูแลของรัฐบาลจีน (8) ศักยภาพทางเศรษฐกิจของจีน (9) ผลกระทบต่อไทย
ฉันเยาว์ฉันเขลาฉันทึ่ง ฉันจึงมาหาความหมาย ฉันมุ่งหาเงินทองมากมาย สุดท้ายได้มรณะบัตรแผ่นเดียว
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ขอบคุณครับ