สัดส่วนของการส่งออก/GDP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนนำทางส่งออกไทย: โอกาสใหม่ในความท้าทาย
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Free Trade Area กลุ่มที่ 8 สำนักบริหาร มาตรฐาน 1.
NAMA (Non-Agricultural Market Access)
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Free Trade Area Bilateral Agreement
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
การเตรียมการของประเทศไทยเพื่อรองรับการค้าเสรี
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
ยุทธศาสตร์ของไทยต่อการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและทวิภาคี
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การพาณิชย์และอุตสาหกรรม วุฒิสภา
1 การเจรจาเพื่อจัดทำ ความตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน - สาธารณรัฐเกาหลี  ความเป็นมาและสถานะ ล่าสุด 
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น
ประเด็นนำเสนอ กลุ่ม Cairns - ความเป็นมา - สมาชิกในกลุ่ม
ผลกระทบต่อการส่งออกไทย จากภัยหายนะธรรมชาติของญี่ปุ่น
2546 สินค้าทั้งหมดมีอัตราอากรขาเข้าร้อยละ 0-5
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาวะอุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้
การสัมมนา เรื่อง เอฟทีเอ : ไทยได้ประโยชน์แค่ไหน โดย ปลัดกระทรวงพาณิชย์ (นายการุณ กิตติสถาพร) ณ ห้องจามจุรี โรงแรมปทุมวันพริ้นซ์เซส วันพุธที่ 25 สิงหาคม.
การลดภาษีของออสเตรเลีย
ไทยได้ประโยชน์อะไร จากการเปิดเสรีอาเซียน-จีน
เขตการค้าเสรี ไทย-อินเดีย
FTA : ลู่ทางการส่งออกไป ออสเตรเลีย จีน อินเดีย
ความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย
ยุทธศาสตร์ การจัดทำเขตการค้าเสรีของไทย
AEC WATCH จับตาเปิดเสรีภาคบริการ สาขาการศึกษา
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง กุมภาพันธ์ 2549
OIE: OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS
แนวทางรองรับผลจาก ASEAN-CER (ASEAN-Australia-New Zealand FTA)
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
1 วิจารณ์ผลการศึกษา โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า เพื่อเสนอแนะมาตรการ ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบ รศ. ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ คณะเศรษฐศาสตร์
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
 โลกาภิวัฒน์ (Globalization) มาจากคำว่า โลกา + อภิ + วฒฺน หากแปลตามศัพท์ จะหมายความว่า พื้นแผ่นดินที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Global( ทั่วทั้งโลก.
การเปรียบเทียบสินค้าส่งออก ของไทยกับกลุ่มประเทศอาเซียน
โดย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) มิถุนายน 2551 ณ โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี การประชุมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างสมรรถนะ.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
Home Builder Industrial. จุดเด่นของธุรกิจรับ สร้างบ้าน ธุรกิจที่ไม่ได้อาศัยเงินลงทุนสูง เข้ามาดำเนินธุรกิจง่าย ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค แบบบ้านที่สามารถ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สัดส่วนของการส่งออก/GDP พันล้านบาท 62.5% 59.6% 56.1% 53.7% 55.2% 56.2% ปี 38 ส่งออก 1,406,310 ล้านบาท ปี 48 ส่งออก 4,434, 676 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3 เท่ากว่า --- การส่งอกของไทยคิดเป็น 62% ของ GDP ถ้ารวม การส่งออกด้านบริการ สัดส่วนเพิ่มเป็น 75 % (ถ้าคิด เป็น GNH เราอยู่ในลำดับที่ 32 ) ---- ถ้าเทียบกับการค้าโลก มูลค่าของเราเป็นแค่ 1.1 % เท่านั้น ---- การส่งออก----เกิดการผลิต การจ้างงาน รายได้ของเกษตรกร ที่มา : มูลค่าส่งออก - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร GDP - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ปลกล็อกอุปสรรคทางภาษี/ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน เป็นกฎ กติกา การค้าสินค้า/บริการ รวมถึงการลงทุน และความร่วมมือ ระหว่าง 2 ประเทศ - อนุญาตให้มีการเข้าสู่ตลาด (เปิดตลาด) ได้ > WTO FTA คืออะไร ? ปลกล็อกอุปสรรคทางภาษี/ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน ซื้อขายสินค้าและบริการที่มีความโดดเด่น และมีความได้เปรียบในการแข่งขัน (comparative advantage) มากขึ้น

ทำไมไทยต้องทำ FTA ? หากไทยทำ FTA ล่าช้า การเจรจาภายใต้ WTO & RTA (AFTA) ค่อนข้างช้า เนื่องจากระดับความพร้อมต่างกัน ฉันทามติบรรลุผลได้ยาก สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป เร่งขับเคลื่อนทำ FTA กับหลายประเทศ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับในตลาดหลัก (GSP) มีแนวโน้มลดลง (ระดับการพัฒนา ) คู่ค้า/คู่แข่งสำคัญของไทยได้ทำและกำลังเดินหน้าทำ FTA ระหว่างกัน หากไทยทำ FTA ล่าช้า มุ่งเน้นที่วิธีการ/กระบวนการ จัดทำ FTA ให้ก่อประโยชน์ จัดการความเสี่ยง/ผลกระทบ ให้ต่ำที่สุด กระทบ ตลาดส่งออกไม่ขยายตัว/หดตัว โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศ ปรับตัวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก

เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน FTA เพื่อ........ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ FTA เป็นกลไกลทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศกลไกหนึ่ง ที่รัฐบาลนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขยายเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ เพื่อ - เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้กระกอบการภายในประเทศ โดยการรักษาความได้เปรียบเชิงภาษี ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มลงลงเนื่องจากถูกตัด GSP และการทำ FTA ของประเทศต่าง ๆ มากขึ้น - การทำ FTA กับบางประเทศ จะช่วยให้ไทยมีวัตถุดิบที่มีความหลากหลาย และราคาถูก เป็นการลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าไทยในตลาดโลก ได้ - การทำ FTA ทำให้ไทยมีตลาดที่ใหญ่ขึ้น และจูงใจให้มีการลงทุนทั้งในด้านสินค้าและบริการมากขึ้น เพราะมองเห็นโอกาสในการขยายการส่งออกสินค้าและบริการไปตลาดต่างๆ ที่ไทยทำ FTA เพิ่มโอกาสในการส่งออก

ไทยทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า? ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว ทำ FTA ไม่ได้หมายถึงเปิดตลาดพร้อมกันทุกสินค้า - กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน - กลุ่มที่ไม่พร้อม ชะลอการเปิด - ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อม ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า? ไทยและทุกประเทศไม่มีใครพร้อม 100% และไม่มีวันพร้อมถ้าไม่ลงไปเรียนรู้จากการเข้าไปทำจริง ซึ่งไทยมีความสามารถสูงในการปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ถ้ารอให้พร้อม เมื่อไหร่คือพร้อม ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว เร่งทำ FTA ไม่ได้หมายถึงเปิดพร้อมกันทุกหมวดสินค้า - กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน - กลุ่มที่ไม่พร้อมก็เก็บไว้ - อะไรง่ายทำก่อน อะไรยากทำทีหลัง - ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อมกลุ่มที่ยาก

ไทยทำ FTA กับประเทศใดบ้าง มีผลใช้บังคับแล้ว ไทย-ออสเตรเลีย (1 ม.ค. 2005) ไทย-นิวซีแลนด์ (1 ก.ค. 2005) อาเซียน-จีน (20 ก.ค. 2005) ไทย-อินเดีย 82 รายการ (1 ก.ย. 2004) เจรจาเสร็จแล้ว ไทย-ญี่ปุ่น (คาดว่าจะลงนาม ในต้นปี 2007) ปัจจุบันไทยได้มีการจัดทำ FTA กับ 6 ประเทศ และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ - โดยอยู่ระหว่างการเจรจากับ สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย เปรู BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตร์) สำหรับประเทศที่เจรจาเสร็จแล้วและมีผลบังคับใช้ 4 ประเทศ : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน และอินเดีย ส่วน FTA ไทย- ญี่ปุ่น ซึ่งเจรจาเสร็จแล้ว อยู่ระหว่างรอให้มีการลงนามประกาศความร่วมมือระหว่างนายกรัฐมนตรีของทั้ง 2 ประเทศ คาดว่าจะลงนามความตกลงประมาณ เดือนเมษายน2006 และมีผลบังคับใช้ 1ตค.2006

ไทยทำ FTA กับประเทศใดบ้าง (ต่อ) อยู่ในระหว่างการเจรจา อินเดีย (ส่วนที่เหลือ) ไทย-สหรัฐอเมริกา ไทย-เปรู BIMSTEC ไทย-EFTA อาเซียน-จีน (ส่วนที่เหลือ) อาเซียน-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลี อาเซียน-อินเดีย BIMSTEC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และภูฎาน) EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตล์) เนื่องจากรัฐบาลไทยประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549 ทำให้การเจรจา FTA ที่อยู่ระหว่างดำเนินการในทุกๆ กรอบ ต้องหยุดชะงักลงชั่วคราวจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่ ยกเว้น การเจรจาภายใต้กรอบอาเซียนยังดำเนินการต่อไป โดยไทยมีบทบาทนำอยู่ในกระบวนการเจรจาด้วย FTA ไทย-สหรัฐฯ

8 ประเทศ และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ EFTA China India Bahrain USA Peru Japan Australia New Zealand BIMST-EC Total trade with Thailand 43.8% Include AFTA 62.5%

อาเซียน – จีน การค้าบริการและการลงทุนอยู่ระหว่างการเจรจา สินค้าผักผลไม้ พิกัด 07-08 ระหว่างไทย-จีน ลดภาษีเป็น 0 เมื่อ 1 ตุลาคม 2003 สัตว์มีชีวิต เนื้อสัตว์ ปลาและอาหารทะเล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์ ในพิกัด 01-08 ลดภาษีเป็น 0 เริ่ม 1 มกราคม 2004 - 1 มกราคม 2006 สินค้าอื่นๆ (พิกัด 09-97) เริ่มลดภาษีตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2005 และเหลือ 0 ภายในปี 2010 ยกเว้นสินค้าบางรายการ (สินค้าอ่อนไหว สินค้าอ่อนไหวสูง) มีมาตรการปกป้อง (Safeguard Measures) การทบทวนความตกลงการค้าสินค้า กลไกระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement Mechanism) การค้าบริการและการลงทุนอยู่ระหว่างการเจรจา

รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าปกติ X=Applied MFN tariff rate ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 อัตราภาษี (%) 2005 2007 2009 2010 X > 20% 20 12 5 15% < X < 20% 15 8 10% < X < 15% 10 5% < X < 10% X < 5% คงอัตราภาษี ◘ นอกจากนี้ยังยืดหยุ่นให้ยกเลิกภาษี ออกไปได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2555 อีกจำนวน ไม่เกิน 150 รายการ

รูปแบบการลด/เลิกภาษี สินค้าอ่อนไหว กลุ่ม เพดานอัตราภาษี (%) สินค้าอ่อนไหว ปี 2012 20 ปี 2018 0-5 สินค้าอ่อนไหวสูง ปี 2015 50 หมายเหตุ : ลดภาษีเฉพาะในโควตา ภาษีนอกโควตาอยู่ระหว่างการเจรจา

อาเซียน – จีน สินค้าที่คาดว่าจะได้ประโยชน์ ผลไม้ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เคมีภัณฑ์อินทรีย์ สารแอลบูมินอยด์ ยางและผลิตภัณฑ์ยางบางชนิดพลาสติกและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรบางชนิด หนังฟอก อุปกรณ์และเครื่องใช้ทางการแพทย์ เป็นต้น

อาเซียน – จีน - สินค้าส่งออก 0% * การขอใบอนุญาตส่งออก/นำเข้า ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดจีน * การเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ทั้งนำเข้า&ผลิตภายใน) - สินค้าส่งออก 0% - สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมบางประเภท 13% - สินค้าทั่วไป 17% * การขอใบอนุญาตส่งออก/นำเข้า * การตรวจสอบด้านสุขอนามัย (SPS) * ใบผ่านแดนประกอบการนำเข้า (สินค้าส่งออก ไม่ได้ส่งตรงไปจีน)

ปัจจัยชี้ถึงความสำเร็จจากการทำ FTA เจรจาต่อรองเรื่องกฎแหล่งกำเนิดสินค้าได้สอดคล้องกับ ความสามารถในการผลิต เจรจาไม่สำเร็จ แต่ผู้ประกอบการสามารถปรับโครงสร้าง การผลิต และหันมาใช้วัตถุดิบในประเทศได้มากขึ้น พัฒนาการผลิต สินค้ามีคุณภาพ มีเทคโนโลยีมากขึ้น สินค้ากลุ่มใดยังไม่พร้อมจะเปิดตลาดทันที ให้เวลาในการ ปรับตัวเตรียมพร้อมอย่างเพียงพอ เช่น 5- 10 ปี บริการสาขาใดไทยยังไม่มารถแข่งขันได้ จะต้องค่อยๆ เปิด ผู้ประกอบการต้องตื่นตัวใช้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีที่เจรจาไว้