ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันเศรษฐกิจเป็นสถาบันที่ทำหน้าที่ช่วยสนองความต้องการของบุคคลในสังคมทั้งในด้านสิ่งบริโภคและอุปโภค ในสังคมที่แตกต่างกัน.
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
ตลาดและการแข่งขัน.
การบริโภค การออม และการลงทุน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักการเงินนิยม Monetarist Theory

ทฤษฎีความต้องการถือเงิน เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและเป็นที่พักของอำนาจซื้อ เงิน จึงควรคลอบคลุมสินทรัพย์ทางการเงินที่มีสภาพคล่องที่สูงและมีมูลค่าค่อนข้างคงที่ด้วย = เงินในความหมายกว้าง ในด้านครัวเรือน เงินเป็นสินทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของถือไว้เพื่อเป็นการสะสมทรัพย์สิน ในด้านธุรกิจ เงินเป็นปัจจัยทุนหรือปัจจัยการผลิต ครัวเรือนมีอุปทาน ในขณะที่ธุรกิจมีอุปสงค์

ความต้องการถือเงิน ทรัพย์สินทั้งหมดที่ทุกคนสามารถถืออยู่ในรูปต่างๆ – ข้อจำกัดด้านงบประมาณ ราคาและอัตราผลตอบแทนของทรัพย์สินประเภทต่างๆ รสนิยมและความพอใจของเจ้าของทรัพย์สิน

ทรัพย์สิน ทรัพย์สิน หมายถึงสิ่งใดๆที่สามารถก่อให้เกิดกระแสของรายได้ในรูปของตัวเงิน สิ่งของ บริการ ( หมายรวมถึงทรัพย์สินมนุษย์ ) ทรัพย์สินที่ไม่ใช่มนุษย์ ต่อ ทรัพย์สินมนุษย์ ( w ) ความไม่สมบูรณ์ของตลาดมีผลกระทบต่อความต้องการถือเงินสองทางด้วยกันในลักษณะที่ตรงข้ามกัน รูปแบบของทรัพย์สิน เงิน พันธบัตร หุ้น สินค้ากายภาพที่ไม่ใช่มนุษย์ ทุนมนุษย์

อัตราผลตอบแทนของทรัพย์สิน อัตราผลตอบแทนของเงิน อัตราผลตอบแทนของพันธบัตร ( iB ) อัตราผลตอบแทนของหุ้น ( iE ) อัตราผลตอบแทนของสินค้ากายภาพที่ไม่ใช่มนุษย์ อัตราผลตอบแทนของทุนมนุษย์ รสนิยมและความพอใจ

รายได้ถาวร รายได้ถาวรของบุคคลบุคคลหนึ่ง คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของรายได้ที่เขาคาดว่าจะได้รับในอนาคต

ฟังก์ชันความต้องการถือเงินแบบง่าย

สาระสำคัญ ฟังก์ชันต้องการถือเงินมีเสถียรภาพสูง มีปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบต่ออุปทานของเงิน แต่ไม่มีผลกระทบต่อความต้องการถือเงิน ได้แก่ ปัจจัยด้านเทคนิค ปัจจัยด้านการเมือง ( จิตวิทยา ) อัตราดอกเบี้ยมิได้เป็นปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดความต้องการถือเงิน แต่ปัจจัยที่สำคัญคือ รายได้ ดังนั้นแม้ว่าอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปก็มิได้มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในความต้องการถือเงินเท่าใดนัก